ปฐมบทความยิ่งใหญ่ ปราสาทฯ ชั้นลดหลั่นแบบเขาไกรลาศ (พ.ศ.1420-1432)

Sdílet
Vložit
  • čas přidán 27. 07. 2023
  • ค้นหาเบื้องหลังความยิ่งใหญ่ของปราสาทขอมที่มีปัจจัยสำคัญ นอกจากเรื่องจำนวนประชากร ยังมีที่มาจากรูปแบบงานสถาปัตยกรรมที่ผูกเข้ากับคติความเชื่อแบบเทวราชาและการเมืองการปกครอง
    พระเจ้าอินทรวรมันที่ 1 (พ.ศ.1420-1432) กษัตริย์กัมพุชาโบราณทรงสร้างปราสาทแบบชั้นลดหลั่น คือปราสาทบากอง เป็นต้นแบบให้กับปราสาทชั้นลดหลั่นที่มีขนาดใหญ่และซับซ้อนมากขึ้นในยุคต่อมา
    ปราสาทเหล่านี้ ถือเป็นการจำลองเขาไกรลาศแห่งพระศิวะ และยังแสดงถึงพระราชอำนาจและพระบารมีของกษัตริย์กัมพูชาโบราณ
    ้มูรติทั้ง 8 แห่งองค์พระศิวะ
    Chirphy/phot...
    ขอบคุณ
    อ.วรณัย พงศาชลากร
    อ.ฉัตตริน เพียรธรรม
    มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร
    ภาพประกอบ
    Google Map
    Supawan's Colorful World
    สยามคเณศ
    วิกิพีเดีย

Komentáře • 142

  • @PP-ic1uv
    @PP-ic1uv  +16

    เวลาพูดเรื่องประวัติศาสตร์ และโบราณคดี ควรใช้คำพูด ขอม จะดีกว่า เพราะนักประวัติศาสตร์อีกหลายคน เสนอว่าขอมคือคนลุ่มเจ้าพระยา ลพบุรี และ พิมาย อาจเคลื่อนย้าย ไปอยู่เมืองพระนคร ไม่ใช่เขมรปัจจุนันนี้ครับ ขอบคุณ

  • @user-pn1ke5ty9r

    นอกจากพลังแรงศรัทธา ก็คงต้องมีกำลังแรงงาน ประะชากร องค์ความรู้ในศาสตร์ศิลปวิทยา ทั้งสถาปัตย์และวิศวกรรม เทคโนโลยีงานช่าง การบริหารจัดการงานเมือง อำนาจ ผู้คน สำคัญไม่แพ้เรื่องใดๆคือจำนวนทรัพย์กำลังเศรษฐกิจ ช่างน่าอัศจรรย์เมื่อมองที่ยุคสมัย ขอบพระคุณครับอาจารย์

  • @xyty1953

    อาจารย์ แล้วคติเทวราช นี้จริงๆ เริ่มที่ทางภาคใต้ของเรา มิใช่หรือ (ตอนนั้นน่าจะเป็นศรีวิชัย หรือโจฬะ อันนี้หนูไม่แน่ใจ) ในภาคใต้เรา มีการสร้างสิ่งก่อสร้างแบบนี้มั้ยค่ะ ข้อสังเกต อีกอย่างนึง การนับถือพระวิษณุ กับพระพุทธศาสนา แบบเถรวาท (แบบที่พระภาวนาในถ้ำ) ที่อาจารย์เคยนำเสนอ ในคลิปก่อนๆ มาก่อนพระนับถือพระศิวะ ระบบนับถือพระศิวะ แบบเทวะราชา นี้ มาจากอาณาจักรทางภาคใต้ของเราหรือเปล่า กับอีกคติ นึง ที่จะถือมหาภารตะ อันนี้หนูคิดว่า น่าจะเป็นกลุ่ม อีกกลุ่มนึง พอสมัยอยุธยา เอาคติเทวราชา มา เอาพระศิวะ พระวิษณุ พุทธ ผสมได้อย่างลงตัว

  • @user-ld8vj3md8x

    นอกจากขนาดของสิ่งก่อสร้างแล้ว ยังต้องชื่นชมคนกัมพูชาสมัยคต่อมาด้วยนะ ที่สามารถรักษาโครงสร้างโบราณส่วนใหญ่ไว้ได้ พอมามองดูที่ไทย คือโดนรื้อไปเยอะมาก ไม่แน่ใจว่าวัสดุของสิ่งก่อสร้างมีส่วนไหม ที่ทำให้โบราณสถานของไทยโดนรื้อไปเยอะ😢😢😢

  • @user-oo7qc8ov1t

    จีนเรียกกัมพูชาโบราณว่า เจนละ เรียกเสียงกัมพูชาว่าอะไรครับ

  • @user-tt2fu6kk3n

    ตอนแรกๆก็เล็กก่อน ต่อไปคนเลียนแบบก็ขยายใหญ่ขึ้น

  • @Kritsada-ux2ih

    สิ่งก่อสร้างยิ่งใหญ่ขนาดนี้ แน่นอนว่าจะต้องใช้คนและกำลังทรัพย์เป็นจำนวนมาก แล้วทรัพย์มาจากไหน ในความเห็นส่วนตัวผมมองว่า มาจากทรัพย์พยากรณ์ เช่นแร่เหล็ก และการค้าทางทะเล จากศิลาจารึก ภาษาปัลวะ สันษกฤต ของพระเจ้าจิตรเสน ในความคิดผม พระองค์ไม่ได้ขยายดินแดนอย่างเดียว แต่ยังแสวงหาแหล่ง แร่ไป ด้วยในคราวเดียว อางจะเป็นจุดเริมต้นของความมั่งคั่งของเขมรโบราน เพราะเป็นยุคต่อเนื่องกัน ผมมีคำถามที่อยากจะถามอาจารย์ คือ. 1. ชนชั้นปกครองในเขมรโบราน มาจากอินเดีย 2 ในยุคเจนละ ทั่งภาษาไทย และเขมรยังเป็นเพียงแค่ภาษาที่ชาวบ้านในพูดกัน ยังไม่มีตัวอักษร ความคิดผมอาจจะผิดก็ได้

  • @shinshinofficial

    เรียก เขมรโบราณ หรือ กัมพูชาโบราณ ถูกต้องแล้วครับอาจารย์ เห็นชอบครับ

  • @user-pq7nx6jp6j

    อ.สุขภาพแข็งแรงครับ🌷🌷🌷

  • @komolkovathana8568

    หริหรา .. ศิวา-นารายัณ : ปางสยัมภูสององค์เทพสูงสุด (ตรีมูรติ : รวมสามองค์)

  • @mummyth

    ความศัทธาในศาสนาอันศักดิ์สิทธิ์ที่ยิ่งใหญ่

  • @dearfillings8869

    ความเชื่อที่ฝังแน่น+มหาอำนาจ

  • @user-pq7nx6jp6j

    อ.เอ อ.วรนัย สุขภาพแข็งแรงครับ👏👏👏

  • @user-bk4hb4hs6m

    ขอบคุณครับ อาจารย์

  • @Kwt141

    ขอบคุณความรู้ ดีๆ ติดตามครับ

  • @user-bz5kr9fz7w

    ขอบคุณมากครับอาจารย์ ติดตามตลอดครับ

  • @kongpantakran

    ขอบตุณมากครับอาจารย์

  • @virgoshaka7617

    🤔...สุดยอดครับ...

  • @seyhak1885

    Thank you admin for sharing about khmer history 👍🙏

  • @user-zl5ol2cp4l

    การค้า วัฒนธรรมพิธีกรรมทางศาสนา การปกครอง สวัสดีครับอาจารย์