Hidden Ayutthaya [EP 59] : จารึกขุนศรีไชยราชมงคลเทพ ยอดขุนพลของเจ้าสามพระยา ผู้พิชิต พิมาย พนมรุ้ง

Sdílet
Vložit
  • čas přidán 16. 12. 2022
  • พุทธศักราช 2550 ได้มีการค้นพบศิลาจารึกที่ชื่อ “จารึกขุนศรีไชยราชมงคลเทพ” พบบริเวณเชิงเขาเหวตาบัว ตำบลห้วยบง อำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ก่อนจะถูกนำมาเก็บรักษาในศาลา ข้างกุฎิของวัดบ้านฉางประชานิมิต แห่งนี้ และกลายเป็นจารึกหลักสำคัญที่เล่าเรื่องราวของยอดขุนพลคนสำคัญในสมัยอยุธยาตอนต้น
    #จารึกขุนศรีไชยราชมงคลเทพ #กรุงศรีอยุธยา #ลพบุรี #พระนครศรีอยุธยา #อยุธยา #วัดบ้านฉางประชานิมิต #จารึก #ด่านขุนทด #นครราชสีมา #เจ้านครอินทร์ #เจ้าสามพระยา #สมเด็จพระนครินทราธิราช #ราชวงศ์สุพรรณภูมิ #สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่2 #ปราสาทหินพิมาย #ปราสาทหินพนมรุ้ง #พิมาย #พนมรุ้ง #บุรีรัมย์ #ประวัติศาสตร์ #โบราณคดี #โบราณสถาน #วัด #วัดร้าง #HiddenAyutthaya #Ayutthaya #Temple #History #Thailand #กัมพูชา #นครวัด #นครธม #พระนครหลวง #เจดีย์ #พระราชพงศาวดาร #สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่๒ #สมเด็จพระอินทราชา #ขุนพล #แม่ทัพ #ขุนศรีไชยราชมงคลเทพ #สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ #ที่ราบสูง #สุพรรณบุรี

Komentáře • 60

  • @penka6927
    @penka6927 Před 10 měsíci +3

    เราคิดว่า ท่านบันทึกเพราะที่นี้คือ
    บ้านท่าน เมืองเสมา เป็นที่รวมพลบุกพิมาย พนมรุ้ง ความดีความชอบ
    รับใช้ราชการกรุงศรีอยุธยา

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před 10 měsíci +1

      เป็นไปได้ครับ

    • @penka6927
      @penka6927 Před 10 měsíci

      คนโคราช มีวิชามวย อยู่บ้านพอเลี้ยงปาก
      เลี้ยงท้อง ตามวิถี มีทรัพยากร แต่คนที่เดินทาง พวกนี้ จะแสสงหาทรัพย์สิน เงินทอง
      อำนาจ ต้องการยอมรับรับถือ คนพื้นที่เขาจะรักถิ่นฐาน แต่ พวกที่มาใหม่นี่แหละ เริ่มอยากได้ เอาเปรียบ ตั้งกลุ่มเป็นกก เป็นพวก กัน
      ทำให้เกิดอำนาจด้านสินค้า กำลัง และการอ้างอิง การติดต่อสื่อสารกับเมืองอื่น เพื่อตนเอง ก็เหมือนคนไทย ที่ใจดี แบ่งปัน
      คนจีนที่เข้ามามามาย แต่เขารอดตายมา
      เจอเมืองอุดมสมบูรณ์ พากันอยู่รอดพัฒนาได้ร่ำรวย คนไทย ต้องขายให้ ตามอำเภอจังหวัดจึงมีแต่กิจการของคนจีน

    • @penka6927
      @penka6927 Před 10 měsíci +1

      เรายังเชื่อว่า ประเทศไทย มีคนท้องถิ่น
      ทุกที่ทุกเมือง. แต่ สงครามอดีตจะต้อนคนมา
      เพื่อให้กำลังทัพที่เมืองนั้นน้อยลงแล้วมีการส่งคนไปปกครอง พิมายก็คือพิมาย พนมรุ้งก็คือ
      พนมรุ้ง มีผู้นำ เจ้าเมือง ที่คนตั้งขึ้นมาเช่นเจ้าเมืองระยอง เจ้าเมืองจันทบุรี ไม่ใช่เขมร
      แต่ เวลาสร้างเราเชื่อศาสนา จะจ้างพรหม
      ทำพิธี อ้างอิง ลงเสา เช่นพ.ศ. ค.ศ. เรายังเชื่อว่า ช่าง มาจากคนยุครูปร่างใหญ่ ที่แหล่งหิน
      คือโคราช พอสร้างที่ช่างก็ไปหมด ไปนาน
      จะป่วย ตามความตั้งใจของผู้มีอำนาจ ผู้ถ่ายทอดวิชาถูกแบ่งไปตามหัวเมืองอื่น
      ก็ใช่ว่าจะสอนง่าย ใครก็จะสร้างทั้งนั้น
      เสมา เมือง โคราช พิมาย พนมวัน
      พอพนมรุ้งใหญ่มาก ขึ้นเขาอีก ช่าง
      ก็น้อยลง ทำงานอยู่บ้านก็มีกิน ต้องมาทำ
      ห่างบ้านครอบครัว ทางอิสานก็อยากทำ
      ต่อมานครวัดอีก มีมากมาย หลายปราสาท
      คนสร้างก็น้อยลง แล้วคนก็นิยมมาทำกิน
      ฝั่งไทยทุกด้าน จนมาเป็นยุคใช้อิฐสุโขทัย
      กรุงศรีอยุธยา เราจึงไม่เชื่อ ว่าเขมรจะทำได้
      เอาเรื่อง...ว่าช่างไทย เป็นคนทำขึ้น

    • @penka6927
      @penka6927 Před 10 měsíci

      แปลก ประวัติศาสตร์ พิมายที่แรกแต่ไปบอก
      ชาติอื่นเป็นเจ้าของ

  • @user-qq6bq3xz1w
    @user-qq6bq3xz1w Před rokem +1

    ขอบคุณครับ

  • @kongpantakran
    @kongpantakran Před rokem +5

    ขอบคุณมากครับ ผมพึ่งเคยได้ยินชื่อจารึกนี้ เป็นจารึกที่มีประโยชน์ในประวัติศาสตร์มาก

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před rokem +2

      ในทางวิชาการมีการศึกษากันมาลายปีละครับ และก็ช่วยเติมเต็มประวัติศาสตร์ช่วงรัชกาลเจ้าสามพระยาได้อีกแง่มุมหนึ่งครับ

  • @user-bz5kr9fz7w
    @user-bz5kr9fz7w Před 9 měsíci +1

    ขอบคุณมากครับอาจารย์

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před 8 měsíci

      ขอบคุณเช่นกันครับผม ^^

  • @penka6927
    @penka6927 Před 10 měsíci +1

    เขาสวยมากค่ะ

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před 10 měsíci +1

      ถ้ามีเวลาอีกนิดและหาคนนำทางได้ ก็อยากให้เขาพาไปชี้จุดด้วยครับ ^^

  • @juyprad5841
    @juyprad5841 Před rokem +3

    ติดตามเรื่องราวดีๆมาตลอดครับ เป็นคนยุดยาครับ แต่มาอยู่โคราช อ.เมือง จะไปดูจารึกที่ด่านขุนทดแน่นอนครับ

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před rokem +1

      ขอบคุณครับ ถ้ามาจากด่านขุนทดจะล้ำเข้ามา อ.ลำสนธิของ จ.ลพบุรี ครับ เส้นทางตรงนี้สวยมาก โดยเฉพาะตรงห้วยบง มีแนวกังหันลมทอดยาวไปตามแนวเขาสวยงามมากๆ

  • @user-hy3kb5ib3f
    @user-hy3kb5ib3f Před rokem +2

    พอดูจนจบซีรีย์อยุธยาเพิ่งรู้ว่าตัวเองไม่รู้อะไรเกี่ยวกับอยุธยาเลย ทั้งรูปแบบและการนำเสนอแหวกดีครับ😊

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před rokem

      ขอบคุณมากๆ เลยครับผม ^^

  • @taspien
    @taspien Před rokem +2

    ชอบครับ

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před rokem

      ขอบคุณครับอาจารย์ 🙂

  • @rattanabandasak6633
    @rattanabandasak6633 Před rokem +1

    ขอบคุณมากนะคะ.. เมื่ิอสงกรานต์​ปีนี้เพิ่งได้ทราบว่าวัดบ้านฉาง​ประชา​นิมิต​หมู่บ้านที่ฉันอยู่ตั้งแต่เด็กมีศิรา​จารึกของประวัติศาสตร์​นี้เก็บใว้ที่นี่​ เคยเดินผ่านไปผ่านมาอยู่ตั้งแต่เด็กๆเวลาไปทำบุญที่วัดไม่เคยรู้มาก่อนเลย​เมื่อก่อนวัดยังเป็นป่ากุฏิ​และศาลาวัดยังเป็นไม้อยู่เลยตอนนี้เจริญ​ขึ้นกุฏิไม้เก่าๆถูกรื้อถอนไปแล้ว​​ สงกรานต์​ปีนี้​ (14​ เม.ย.​2566)​ เลยได้แวะเข้าไปกราบไหว้​.. ทางวัดได้สร้างศาลาให้ใหม่​ สวยงามค่ะ..

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před rokem

      ยินดีครับ และขอบคุณเช่นกันครับ😄

  • @user-bf6ph5bg1j
    @user-bf6ph5bg1j Před rokem +1

    เป็นบันทึกขยายประวัติศาสตร์ครับ

  • @jarunsermkaew4889
    @jarunsermkaew4889 Před rokem +1

    ติดตามสุดยอดครับ

  • @WorapatYommana
    @WorapatYommana Před rokem +1

    สวัสดีครับ 👏

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před rokem +1

      สวัสดีครับ ขอบคุณที่ติดตามกันครับ 😄

  • @webaneklarp
    @webaneklarp Před 6 měsíci

    ที่จารึกเขียนว่าพระอินทราชานั้นน่าจะหมายถึงพระอินทราชาพระมหากษัตริย์ของกรุงศรีอยุธยาพระองค์ที่ 6 ที่ทรงเป็นพระราชบิดาของเจ้าสามพระยามากกว่านะครับ ผมมีความเห็นสอดคล้องกับท่าน อ.พิเศษ เจียจันพงษ์ ครับ / เอนกลาภ

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před 6 měsíci

      ขอบคุณสำหรับข้อมูลครับผม ^^

  • @tiknastory6399
    @tiknastory6399 Před 2 měsíci +1

    ชื่อเชลียงด้วย เหมือน เมืองเชลียงเลย

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před 2 měsíci

      "เชลียง" มีตรงช่วงไหนครับ ^^

  • @Aon_Kiatsakul
    @Aon_Kiatsakul Před rokem +2

    เกิดมาพึ่งรู้ว่ามีจารึกนี้อยู่บนโลก มันสำคัญทางประวัติศาสตร์มากเลยครับ เป็นไปได้อยากให้กรมศิลป์ไปขอมาไว้ในพิพิธภัณฑ์เจ้าสามพระยาน่าจะดี ดูเหมือนทางวัดก็ไม่ได้ดูแลดีเท่าที่ควรกลัวมันจะชำรุดเสียหายไปเรื่อยๆ อยากให้ท่านได้กลับบ้านมาอยู่กับพ่ออยู่หัวจัง 😅

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před rokem +1

      จริงๆ ทางวัดดูแลดี และก็เข้มงวดพอสมควรเลยครับ จารึกนี้เคยนำไปเก็บไว้ที่ลพบุรีด้วย แต่ก็ย้ายกลับมาที่ดิม จริงๆ การอยู่ในพื้นที่ๆ ค้นพบก็เหมือนว่าคนท้องถิ่นก็รู้สึกผูกพันกับโบราณวัตถุสำคัญนี้ด้วยครับ

    • @Aon_Kiatsakul
      @Aon_Kiatsakul Před rokem +1

      @@HiddenAyutthaya ครับ ตอนแรกดูจากในคลิปคิดว่าดูแลไม่ค่อยเข้มงวดเท่าไหร่ เหมือนวางไว้กับพื้นเฉยๆ ส่วนตัวผมชอบจารึกนี้มาเพราะปกติประวัติศาสตร์บ้านเราจะบันทึกแต่ชื่อกษัตริย์ แต่อันนี้มีชื่อบรรดาแม่ทัพหลายท่านเลย เสียดายไม่ค่อยมีใครพูดถึง ขอบคุณมากครับที่พาผมไปรู้จักจารึกนี้ครับ รอติดตาม ep ใหม่ๆอยู่นะครับ ^^

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před rokem +1

      @@Aon_Kiatsakul ขอบคุณเช่นกันครับ :)

  • @user-ok6ni1py1f
    @user-ok6ni1py1f Před rokem +1

    ❤❤❤❤❤❤❤

  • @user-oy4ns1mp5c
    @user-oy4ns1mp5c Před rokem +1

    ยังไงๆผมก้อตาม จนกว่าจะถึงวัดใหญ่ชัยมงคลครับ

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před rokem +1

      ครับผม รออีกนิดครับ ^^

    • @user-oy4ns1mp5c
      @user-oy4ns1mp5c Před rokem +1

      @@HiddenAyutthaya เป็นกำลังใจ ให้ครับพี่🙏🙏🙏

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před rokem

      @@user-oy4ns1mp5c ขอบคุณครับ😄

  • @nichnana4907
    @nichnana4907 Před rokem +1

    👍👍👍🙏🙏😍😍

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před rokem

      ขอบคุณและสวัสดีปีใหม่ไทยครับ😄

  • @user-dk4bj4tr6w
    @user-dk4bj4tr6w Před rokem +1

    อ.ศานติ ภักดีคำ เสนอว่า..ข้อความที่ว่า "เมื่อวานสิบเอ็ดค่ำ เดือนสิบส(อง) กุนนักษัตร" ที่กล่าวไว้ในศิลาจารึกด้านที่ 1 นั้น น่าจะหมายถึง วันที่สร้างจารึก ไม่ใข่วันที่ตีเมืองพระนครได้

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před rokem +4

      ผมคิดว่าในจารึกอาจจะยังไม่ได้ไปตีพระนครหลวงของเขมรอย่างเต็มที่เท่าไร แต่เป็นการมาเก็บกวาดบ้านเมืองแถบเขมรสูงที่เป็นเครือญาติของกษัตริย์พระนครหลวงดังข้อสันนิษฐานของ อ.กำพล จำปาพันธ์ ครับ

  • @user-cn1kb7bp1e
    @user-cn1kb7bp1e Před rokem +1

    เขาพังเหยหรือพังเหวครับ.

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před rokem

      ขออภัยครับ ผมพูดผิดเอง ที่ถูกคือพังเหยครับ😄

  • @Thailandium
    @Thailandium Před rokem +3

    น่าสนใจมากๆครับ ที่จริงช่วงต้นกรุงศรีอยุธยาเป็นช่วงที่อยุธยาขยายอำนาจไปในภูมิภาคสุวรรณภูมิไม่แพ้ยุคพระนเรศ แต่ไม่ค่อยมีคนพูดถึงกันเท่าไหร่
    10:34 เหมือนว่าก่อนหน้านั้นสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 อยุธยาไม่เคยแผ่อำนาจไปยังพระนครเลย เพราะไม่ปรากฏเอกสารชั้นต้นที่กล่าวการตีเมืองพระนครก่อนหน้านี้เลยครับ

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před rokem +1

      ใช่ครับ รัชสมัยเจ้าสามพระยานี่อยุธยาทำศึกเหนือเสือใต้ตลอดเลยครับ ช่วงนี้ถือว่าเป็นการขยายอำนาจของอยุธยาให้กว้างไกลออกไปมากๆ ส่วนเรื่องสงครามกับเมืองพระนครก่อนรัชกาลเจ้าสามพระยา ผมเชื่อว่าอยุธยายกไปตีเขมรจริงในรัชการสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 จริงๆ ไม่ได้เป็นการขยายอำนาจอะไรหรอกครับ แต่เป็นความขัดแย้งของเครือญาติมากกว่า อันนี้ต้องมีการอภิปรายกันยาวๆ อีกที

    • @nichnana4907
      @nichnana4907 Před rokem +1

      @@HiddenAyutthaya 👍👍👍

  • @chayapanya
    @chayapanya Před rokem

    เพิ่งรู้จักจารึกนี้จากช่องวันนี้เอง ขอบคุณมาก ผมสนใจจะหาอ่านคำถอดความของจารึกนี้ได้ที่ไหนครับ มีออนไลน์รึเปล่า?

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před rokem +1

      ขอบตุณเช่นกันครับ ศึกษาได้จาก link นี้เลยครับ🙂
      so03.tci-thaijo.org/index.php/husoarujournal/article/view/258776

    • @chayapanya
      @chayapanya Před rokem

      @@HiddenAyutthaya ขอบคุณครับ

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před rokem

      @@chayapanya ยินดีครับ🙂

  • @user-jt6mj3fq7o
    @user-jt6mj3fq7o Před rokem

    หัวเมืองลาวล้านช้างอีสานมาขึ้นตรงต่ออโยธยาเองนะคราฟกลายเมือคนสปปลาวหังและจำไว้อย่ามาเคลมขะแมร์นะพวกมึงตัวดีเลี้ยงไม่เชื่อง

  • @cheraim6210
    @cheraim6210 Před rokem +1

    กำลังสงสัยอยู่ที่เดียวว่าทำไมเป็นแม่ทัพ ยศแค่ขุน คุณ อชิรวิทย์ ก็เฉลยให้หายสงสัย แล้วตอนท้าย

    • @HiddenAyutthaya
      @HiddenAyutthaya  Před rokem

      ถ้าอ่านในพงศาวดารฉบับปลีก (ฉบับไมเคิล วิคกอรี่) จะเห็นภาพขุนนางในระบบราชการของกรุงศรีอยุธยาตอนต้นได้เป็นอย่างดีครับ