อายุจักรวาล 26.7 หรือ 13.8 พันล้านปี อันไหนกันแน่? คลิปนี้มีคำตอบ | การคำนวณอายุจักรวาลแบบต่างๆ

Sdílet
Vložit
  • čas přidán 20. 08. 2024

Komentáře • 28

  • @pieak4066
    @pieak4066 Před 8 měsíci +3

    จักรวาลช่วงแรกต้องขยายตัวมากกว่าความเร็วแสงเยอะมากๆ ไม่งั้นแสงจะพึ่งเดินทางมาหาเราได้อย่างไร แล้วอนุภาคนั้นก็ต้องเป็นอนุภาคปฐมภูมิ ที่เคลื่อนไปพร้อมจักรวาลช่วงแรก เร็วกว่าแสงได้ด้วย (มวลติดลบ) ซึ่งฟิสิกส์ปัจจุบันอาจจะยังไม่ค้นพบหรือไม่

  • @kingplanet4844
    @kingplanet4844 Před 7 měsíci

    เพิ่งรู้ว่าปฏิกริยาอนุภาค..นับอายุได้ด้วย😅...

  • @mmkung8125
    @mmkung8125 Před 8 měsíci +2

    ดีครับ ได้ความรู้ดีมากช่องนี้

  • @ShinaprideLucania
    @ShinaprideLucania Před 8 měsíci +1

    เข้าใจแล้วครับ

  • @UtenFm
    @UtenFm Před 7 měsíci

    มึนตึบ

  • @user-zt8oz3qx2r
    @user-zt8oz3qx2r Před 7 měsíci

    ปัญหานี้ พระพุทธเจ้าท่านไม่ตอบกับพราหมณ์ผู้สงสัย ถึงแม้ท่านจะระลึกชาติได้เป็น ร้อยๆ พัน ชาติ เพราะคิดว่าตอบไปแค่คลายความสงสัย แต่ไม่ได้ช่วยให้หลุดพ้น อายุจักรวาลพระพุทธเจ้าท่านใช้คำว่ากัลป์ มหากัลป์ และอสงไขย ลองไปค้นหาข้อมูลเอาเองครับ 1 กัลป์ = ??? นี่แหละหน่วยจักรวาล

  • @gorgeouxpanjira8894
    @gorgeouxpanjira8894 Před 7 měsíci +1

    จักรวาลเคลื่อนที่ด้วยความเร่งจนความเร็วใกล้ความเร็วแสง ทำไมเราไม่รู้สึกถึงแรงนั้น?

    • @onetomanysci
      @onetomanysci  Před 7 měsíci +1

      Q: จักรวาลเคลื่อนที่ด้วยความเร่งจนความเร็วใกล้ความเร็วแสง
      A: อันนี้ ขึ้นอยู่กับมมุมมองทางทฤษฎี ความเร่งจนความเร็วใกล้ความเร็วแสงจริงหรือไม่ ก็ขึ้นกับมุมมองพิจารณา ครับ
      Q: ทำไมเราไม่รู้สึกถึงแรงนั้น?
      A: เรื่องนี้ ขึ้นกับกรอบอิงที่เราอาศัยอยู่มีความเร็วเท่าใด
      โดยยกตัวอย่าง โลกหมุน ด้วยความเร็วประมาณ 1,675 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (465 m/s) ที่เส้นศูนย์สูตร แต่ที่อาศัยอยู่บนโลกก็ ไม่ได้ รู้สึกว่า มันหมุนอยู่ แต่เราไปม้าหมุนที่รวมกรอบความเร็วที่โลกหมุนไปแล้วด้วย เราก็รู้สึกการหมุนของม้าหมุนอยู่ ครับ

  • @user-wo2iw9wv9n
    @user-wo2iw9wv9n Před 8 měsíci +1

    มองท้องฟ้าคือมองอดีต เเล้วทำไมเราไม่เหนเเสงต้นกำเนิด เพราะจักวาลขยายตัวเรวกว่าเสง ส่วนที่เรารับรุ้ได้จากเเสงมีเเค่13พันล้านปีกว่าๆเองนอกนั้นคือส่วนที่เราไม่รุ้

    • @user-jm7jl3ez4o
      @user-jm7jl3ez4o Před 8 měsíci +1

      น่าคิดเหมือนกันครับ ผมก็คิดเหมือนคุณ

  • @pattiuak
    @pattiuak Před 8 měsíci +1

    ผมว่าเวลาตอนเกิดจักรวาลใหม่ๆ กับตอนนี้เวลาเดินเร็วไม่เท่ากัน ผมว่า 14 พันล้านปีมันดูน้อยเกินไป มันดูแปลกๆ ตั้งแต่เอาอายุของโลกไปเทียบกับอายุกับจักรวาลแล้ว

  • @user-wt7xu4cy8z
    @user-wt7xu4cy8z Před 8 měsíci +1

    อายุจักรวาลคือ สองร้อยล้านกัลป์

  • @sakchaynevwkum770
    @sakchaynevwkum770 Před 8 měsíci +1

    จริงๆแล้วมันคำนวนไม่น่าได้เลย ตามทฤษฏีสัมพัทธภาพของไอสไตน์ก็บอกเองว่าจักรวาลของเราประกอบด้วยพื้นที่และเวลา(สเปซ+ไทม์)ขณะที่จักรวาลขยายตัวหมายความว่าพื้นที่และเวลาขยายตัวด้วยเช่นกัน(เน้นย้ำ เวลาย่อมขยายตัวไปพร้อมกับพื้นที่ของจักรวาล) และถ้าจักรวาลขยายตัวในอัตราเร่ง นั่นย่อมหมายความว่าเวลา ณ ขณะหนึ่งกับอีก ณ ขณะหนึ่งย่อมไม่เท่ากัน มันอาจจะดูงงๆ ผมไม่แน่ใจว่าคนที่อ่านข้อความนี้จะเข้าใจสิ่งที่ผมจะสื่อมั้ย แต่ผมมองว่าการคิดคำนวณว่าจักรวาลมีอายุกี่ปีๆ ในปัจจุบันไม่น่าจะคำนวณได้ครับ

  • @fthvf7862
    @fthvf7862 Před 8 měsíci

    เรื่องดาวสุริยะจักรวาลกาแล็กซี่เอกภพน่าสนใจ

  • @Faruox
    @Faruox Před 8 měsíci

    เข้าใจแล้วครับ 😅

  • @SantiSanti-hm5ts
    @SantiSanti-hm5ts Před 8 měsíci

    เรื่องอายุจักรวาลบอกเลยว่าอย่าไปหาอายุเลยเพราะมันไม่สามารถนับเป็นจำนวนได้

  • @user-cj4wp5rh3c
    @user-cj4wp5rh3c Před 8 měsíci

    จักรวาลนี้เป็นเพียงเซลหนึ่งของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่มีหลายล้านๆๆๆๆๆๆๆๆๆ....เซล

  • @mechunz3741
    @mechunz3741 Před 8 měsíci +1

    ขยายตัวแบบเนื้อจักรวาลนี่เวลาคิด redshift มันคิดการshiftตามความเร็วสัมพัทธ์ที่ถอยห่างจากกัน
    แต่จักรวาลขยายตัวเป็นทรงกลม มันอาจจะถอยห่างด้วยมุมไม่เท่ากัน+ความเร็วไม่เท่ากัน
    กาแล็กซี่ไหนที่ถอยห่างจากกัน ยิ่งเวลาผ่านไปก็ยิ่ง redshift มากขึ้น
    แล้วกาแล็กซี่ไหนที่เคลื่อนเข้าหากัน ยิ่งเวลาผ่านไปก็ยิ่ง blueshift มากขึ้นจากแรงดึงดูดระหว่างกัน
    แล้วผมนี่สงสัยว่า ถ้ามันจะรวมกัน ทำไมมันไม่รวมกันตั้งแต่แรกที่เริ่มที่เริ่มมีมวลตอนอยู่ใกล้ๆกัน
    ทำไมต้องรอน๊าน นานเกิน8พันล้านปี ทางช้างเผือกกันอันโดนเมดาถึงนึกจะมารวมกัน
    แต่ก็พอจะจินตนาการได้ว่ามันกำลังชั่งใจอยู่ว่าจะไปทางไหนดี เทียบมวลกับเทียบระยะห่างกันไปมาหลังเกิดบิ๊กแบง
    ยิ่งนานยิ่งอยู่ไกล กว่ามวลจะเยอะพอก็กระเด็นมาไกลแล้ว เลยได้แต่ค่อยๆขยับเข้าหากัน

    • @mechunz3741
      @mechunz3741 Před 8 měsíci

      ข้างบนนี่คือประโยคคำถามนะ ว่าเข้าใจตามหลักทั่วไปไหม 55

    • @onetomanysci
      @onetomanysci  Před 8 měsíci +2

      Q: เริ่มมีมวลตอนอยู่ใกล้ๆกัน ทำไมต้องรอน๊าน นานเกิน8พันล้านปี ทางช้างเผือกกันอันโดนเมดาถึงนึกจะมารวมกัน
      A: ในบางช่วงต้นของการกำเนิดจักรวาลเกิดสิ่งที่ปัจจุบัน เรียกว่า Baryon Acoustic Oscillations ดูเพิ่มเติมได้ที่วิดีโอ
      คลื่นเสียงจากช่วงกำเนิดจักรวาล (Baryon Acoustic Oscillations)
      czcams.com/video/6bsw2tDc5MQ/video.html

  • @tammachaksoongpankhao3460
    @tammachaksoongpankhao3460 Před 8 měsíci

    มันกว้างใหญ่เกินจินตนาการที่มนุษย์รับรู้ได้ แค่คิดเองตามความรู้ที่มีอยู่จำกัดขอบเขตของเอกภพเท่านั้น ในอนาคตมีเทคโนโลยี่ความรู้มากกว่านี้ก็จะมีทฤษฎีใหม่ๆ เกิดขึ้นอีกไม่รู้จบ

  • @user-oq2kj3li8b
    @user-oq2kj3li8b Před 7 měsíci

    เวลาจริงๆที่คำนวน 54,454ล้านปี เป็นเวลาที่เดินมีแค่1%เวลาที่หยุดมี99% กล้องตรวจจับมันจับได้แต่แสงในอดีต ไม่เหมือนเรานับจาก จุดเริ่มต้นเองหลอก

  • @workwork9958
    @workwork9958 Před 8 měsíci

  • @waroonh4291
    @waroonh4291 Před 7 měsíci

    ถ้าเราไปถามหลุมดำ ที่มวลเยอะ เวลาเดินแบบเกือบหยุดนิ่ง เอา แตะๆ 0 อ่ะ เราจะได้ว่า เวลา 13.8 พันล้านปี สำหรับหลุมดำ คือ เวลาผ่านไปแค่ 1 planck unit แต่ถ้าเราไป ถาม Atom H1 ที่มวลน้อย เวลาจะวิ่งเร็ว ถ้ามันตอบว่า 1 วินาที ของเรา จริง ๆ คือ เวลาเดินไปแล้ว 8 x 10 ยกกำลัง 54 ปี .. ถ้า หลุมดำ มีอายุตำสุด คือเท่า Atom H1 เราจะได้ว่า อายุจักรวาลนี้ ต่ำสุดคือ ประมาณ 10 ยกกำลัง 48 ปี ..หรือ 1 ตามด้วย 0 อีก 48 ตัว มองตามอัตราที่เวลาของโลกเดินตามปรกติ แต่เรามองเห็นแค่ 13.8 x 10 ยกกำลัง 10 ปี เพราะ แสง Red-shift จน มืดไปก่อน

  • @pornchai-9068
    @pornchai-9068 Před 8 měsíci

    มันต้องเยอะกว่านั่นมาก ๆ เป็น ล้าน ๆ ปี คิดดิ โลกเราเกิดมา ก็ 4500 ล้านปี แล้ว จักรวาล จะมากกว่าแค่ หมื่นล้านปีเองเหรอ