เรียนที่ไหนก็เหมือนกัน จริงหรือ ? | Highlight | EP.35 | จั๊ดง่าวข่าวไม่โง่ | ข่าวช่องวัน

Sdílet
Vložit
  • čas přidán 27. 07. 2022
  • จากดรามาจุฬา-ราชภัฏ สะท้อนภาพการศึกษาไทย สู่คำถามว่า เรียนที่ไหนก็เหมือนกันจริงหรือ แล้วอะไรคือหัวใจสำคัญของเรื่องนี้ ติดตามทั้งหมดใน จั๊ดง่าว ข่าวไม่โง่
    #มหาวิทยาลัย #จุฬา #ราชภัฏ #จั๊ดง่าวข่าวไม่โง่ #ข่าวช่องวัน
    _______________________________________
    "ข่าวช่องวัน เข้าถึงข่าว เข้าถึงคุณ"
    ติดตามชม #ข่าวช่องวัน ได้ตลอดทั้งวันทางหน้าจอ #ช่องวัน31
    และติดตามช่องทางได้ดังนี้
    Facebook / Instagram / Twitter / TikTok / CZcams : onenews31
    _______________________________________
    ละครดี วาไรตี้เด็ด ดูฟรีผ่านแอป #oneD
    ดูบนเว็บ : bit.ly/3rmYls1
    ดูบนแอป : bit.ly/3JgNpCp
    #one31 #ข่าวช่องวัน

Komentáře • 330

  • @cokecoke3242
    @cokecoke3242 Před 2 lety +197

    ผมชอบเอกชน ชอบคุณภาพการสอน บุคลากร อุปกรณ์การเรียน แนวทางการสอน และยังได้คอนเนคชั่น กับเพื่อนร่วมชั้นเรียน ที่เป็นลูกเจ้าของธุรกิจในสายงานต่างกันไป

    • @user-lq1gq7jb4v
      @user-lq1gq7jb4v Před rokem +3

      ช่ายค่ะ

    • @user-mu6iw1sh1d
      @user-mu6iw1sh1d Před rokem +1

      อยากให้เรียนขาดงบประมาณ

    • @opooppo7226
      @opooppo7226 Před rokem +4

      เอกชนดีที่สุดครับ

    • @user-hqevdeg662
      @user-hqevdeg662 Před rokem +1

      ผมชอบทั้งสองไม่เคยเบียดใคร

    • @user-hqevdeg662
      @user-hqevdeg662 Před rokem +2

      ​@@opooppo7226 บอกว่าดีที่สุดสำหรับคุณครับ รัฐบาลดีที่สุดครับ คือต้องพิมพ์แบบนี้หรอครับ แค่ชอบทั้งสอง คนเหมือนกันทำไมจะต้อง...

  • @dandanai
    @dandanai Před 2 lety +151

    ยังไงก็ไม่เหมือนกันครับ ทั้งหลักสูตร สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ทั้งในและรอบมหาวิทยาลัย แต่ผมเคยคิดแค่ว่า ม.อะไร ก็สมควรผลิตบุคลากรแบบนั้น เช่น ม.วิศวกรรม ก็ควรผลิตวิศวกร, ม.แพทย์ ก็ควรผลิตหมอ, ม.ศิลปะ ก็ควรผลิตจิตกร, ม.ครู ก็ควรผลิตครูอาจารย์ แต่ตอนนี้ มันมั่วไปหมด ช่วงต้มยำกุ้งเห็นชัด ที่วิศวกรเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานมาก ทุกม.เลยเปิดหลักสูตรวิศวกรรมหมด ม.ครู ยังเปิดคณะวิศวฯ อันนี้ยังไม่เท่าไหร่ แต่บางที่ คณะครุศาสตร์ แต่เปิดสอนหลักสูตรวิศวฯ ให้เด็กจบไปเป็นวิศวกร อ้าว แล้วไม่ไปเรียนคณะวิศวฯไปเลยเล่า หลักสูตรมันแปลกๆ แต่ผมก็เรียนมาหมดทั้งรัฐ ทั้งเอกชน ม.เปิด ม.ปิด (ซิ่วบ่อย) สุดท้ายแล้ว เรียนที่ไหน ยังไงก็ไม่เหมือนกัน ความพยายามการแสวงหาความรู้และพัฒนา มันเป็นเรื่องปัจเจกบุคคลเลยครับ

    • @JohnKickboxing
      @JohnKickboxing Před 2 lety +3

      เจ้าของบริษัทขนส่ง Flash Express ก็เคยเรียนราชภัฏฯ มหาลัยกลายเป็นของ Luxury Brand ไปซะแล้ว เหมือนกระเป๋าแบรนด์คนไทย ขายได้ 7,000 บาท/ใบ แต่พอมีคนใช้กระเป๋า LV ก็สำคัญตนไปผิดๆ ว่าตรูเหนือกว่า ตรูเจ๋งกว่า ทั้งที่จริงแล้วประโยชน์ของทั้ง 2 กระเป๋านี้ มันก็ไม่แตกต่างกันมากขนาดนั้นเล้ยยยยย

    • @manspk7059
      @manspk7059 Před 2 lety +40

      @@JohnKickboxingบุคคลหนึ่งคนเอามาอ้างอิงถึงคุณภาพของมหาลัยได้หรอ ทำไมไม่เอาภาพรวมอ้างอิงล่ะ ว่านักศึกษาหลายคนที่จบมามีศักยภาพมากกว่ากัน

    • @JohnKickboxing
      @JohnKickboxing Před 2 lety +1

      @@manspk7059 มันเป็น มายาคติ ที่คนส่วนใหญ่ หลอน กันไปเองว่าที่นั่น ดีกว่าที่นี่ เดี๋ยวนี้บริษัทต่างๆ เค้าไม่สนมหาลัยฯ กันแล้ว

    • @manspk7059
      @manspk7059 Před 2 lety +1

      @Dark Side นั้นสิ

    • @ryughee
      @ryughee Před rokem +11

      @@JohnKickboxing ปลาได้ดีตัวเดียว เรียกดีทั้งข้องหรอ งง

  • @One-vt9il
    @One-vt9il Před rokem +10

    ต่างกันที่คุณภาพของผู้เรียน นักเรียนที่จะสอบได้จุฬาต้องอ่านหนังสือ ทำแบบทดฝึกหัด เยอะมาก ถึงมากที่สุด //น้องบางคน พ่อแม่วางแนวตั้งแต่อนุบาล บ้านไหนมีเงินก็เรียนพิเศษทุกวิชา หลายๆปีล่วงหน้า เนื้อหาคณิตเด็กเก่งเขาเก็บหมดตั้งแต่ม3 ฟิสิกส์ เคมี เด็กเทพเขาเรียนตั้งแต่ มอต้น เด็กเทพพวกนี้ความรับผิดชอบสูงมาก และแน่นอนเด็กเทพไปรวมตัวกันที่ มหาวิทยาลัยชั้นนำ จบมาทำงานวิธีทำงานก็ต่างกัน

  • @eknarin2795
    @eknarin2795 Před 2 lety +131

    ปัญหาที่หลายคนไม่เคยพูดถึง
    คือมหาลัยเมืองไทยมากเกินไป
    วิทยาลัยสายวิชาชีพถูกเปลี่ยนเป็นมหาลัยเพราะความต้องการของผู้เรียน ไม่ใช่ความต้องการของตลาดแรงงาน คนที่มีทักษะดีๆเลยต้องไปเรียนสายวิชาการซึ่งไม่ถนัด คล้ายกับการเลื่อน วิศวะกรมือหนึ่งขององค์กร์ไปเป็นผู้บริหาร กลับได้ผู้บริหารที่ห่วย และวิศวะมือใหม่
    สายวิชาชีพต้องเป็นพื้นฐาน ใครมีหัวทางวิชาการก็ขึ้นไปมหาลัย สรุปค้นหาตัวเองให้เจอ สายวิชาชีพทำเงินมากกว่าสายวิชาการมีเยอะเยะ

    • @Whitecat74
      @Whitecat74 Před rokem

      Ò

    • @Me-qz2lw
      @Me-qz2lw Před rokem +7

      มหาลัยมากก็ดีแล้วค่ะ ไม่งั้น คนก็แย่งกันเช้าแต่ที่ดังๆ หรือไกลบ้านตัวเอง มีกระจายๆ ไปดีแล้ว

    • @susu3185
      @susu3185 Před rokem

      คุณพูดถูก เพราะคุณเห็น

    • @user-mu6iw1sh1d
      @user-mu6iw1sh1d Před rokem

      แล้วแก้ไขอย่างไร

    • @user-rn7xq7el7s
      @user-rn7xq7el7s Před rokem +1

      ผมก็จบ ปวช ปวส สายก่อสร้างนะ แต่เป็นของรัฐ ตอนนี้ก็จบเรียน ปตรี ปโท 😂 คือ สายอาชีพ มันขาดตลาดจริงๆ ผมเป็นเจ้าของบริษัทรับเหมาก่อสร้าง ก็ทำต่อจากอาผม ปตรีมาผมไม่อยากรับเลยไม่ใช่ไรนะ ชั้นนำผมก็ไม่รับ ต้องยอมรับความจริงก่อนเด็ก ปวส จบสถานที่เค้ารองรับหลักสูตรทำงานเป็นไม่ต้องเสียเวลา มันขาดตลาดมากๆ ผมรู้สึกเลยว่าพวกวิศวะจบมาเซ็นอย่างเดียว ไม่คิดเลยว่าบางอย่างมันซ่อมได้ จัดการได้ เรื่องดีเทลมันมีมาก แต่ช่างคือซ่อม ซ่อมจนทำงานได้ บริษัทก็อยู่ได้ 🎉🎉🎉🎉

  • @user-ev9qp3yl3s
    @user-ev9qp3yl3s Před rokem +9

    เอาราชภัฏมาเปรียบกับมหาวิทยาลัยอันดับ 1 ของประเทศ สิ่งที่ควรคิด คือ ใครเป็นคนตั้งคำถามนี้ ? ตั้งคำถามโดยรู้คำตอบอยู่แล้วว่าสู้เค้าไม่ได้ แล้วจะมาดราม่าอะไรกัน อันดับมหาวิทยาลัย เค้าจัดกันทั้งโลก กลับกันฉันใดก็ฉันนั้น จุฬา ก็สู้มหาวิทยาลัยนันยางของสิงคโปร์ไม่ได้

  • @bosssawanna3116
    @bosssawanna3116 Před 2 lety +36

    จากประสบการณ์เด็กจบใหม่ ม. ดัง top 5 ของไทย บอกเลยมีผลมากๆ โดยเฉพาะการสมัครงาน ผมสัมภาษณ์ผ่านหลายที่มาก เเละเขามักเรียกสัมภาษณ์ ม. ดังๆ ก่อน ซึ่งในบริษัทจะมีตระกร้า 3 ตระกร้า วางไว้เลย เเล้ว HR จะเรียกสัมภาษณ์
    1. ตระกร้า ม.Top 10
    2. ตระกร้า รองจาก Top 10
    3. ตระกร้า ม. ราชภัฏ เเละเอกชน
    ***ทำให้เรามีสิทธิ์มากกว่าคนอื่นที่จะโดนเรียกสัมภาษณ์เข้าทำงาน

    • @ytkk7716
      @ytkk7716 Před rokem +1

      จริงค้า ++

    • @andyl9976
      @andyl9976 Před rokem +9

      ทุกประเทศทั่วโลก เค้าแย่งกันสอบเข้าม.รัฐ ดังๆทั้งนั้นครับ เพราะคุณภาพมันต่างกันจริงๆ

    • @bosssawanna3116
      @bosssawanna3116 Před rokem +2

      @@andyl9976ไม่ปฎิเสธ คือเรื่องจริงมากๆ

    • @kullachatkachornnantachai7663
      @kullachatkachornnantachai7663 Před rokem +1

      อันนี้เจอมากับตัว เลยใช้ความสามารถสมัครเข้าทำงานบริษัทต่างชาติ คู่แข่งน้อยลงและวัดที่ความสามารถล้วนๆ

  • @isartpz8612
    @isartpz8612 Před 2 lety +55

    ปัจจัยสำคัญเลยคือเนื้อหาการเรียน เช่น ผมเรียนวิศวะ มมส ซื้อเนื้อหาการเรียนนั้นเป็นเนื้อหาเดียวกันกับ มข หรือ จุฬา เพราะเนื้อหาการเรียนการสอนนั้นมาจากการรับรองของ สภาวิศวกร ดังนั้นพื้นฐานด้านเนื้อหานั้นเหมือนกัน แต่ที่ต่างกันคือ ความเคี่ยวของอาจารย์ สื่ออุปกรณ์การสอนที่ต่างกัน จึงทำให้คุณภาพของนักศึกษาที่จบออกมานั้นต่างกัน

    • @MrFury1982
      @MrFury1982 Před 2 lety +8

      ถ้าคุณคิดว่า คุณเรียนแล้ว คุณจะจบออกมาเป็นวิศวกรอันดับ 1 ของประเทศ ถ้าตั้งเป้าไว้ระดับนั้นก็สมควรอยู่ครับ จุฬาฯ ขอนแก่น แต่ถ้าเอาแค่ว่าจบมาแล้ว ฉันจะเป็นวิศวกร มีการมีงานทำ เลี้ยงตัวเองได้ แบบนี้จบที่ไหนก็ได้ครับ จุฬา ขอนแก่น ราชภัฏ

    • @apisitsomsrisuk4850
      @apisitsomsrisuk4850 Před rokem +7

      อาจารย์ก็ส่วนนึงครับ แต่จริงๆมันต่างกันตั้งแต่สอบเข้าแล้ว คะแนนผมหมืนกลางๆตอนสมัยจะเข้าปี1มข พวกจุฬาล่อไป2หมืนกว่า
      เขาเก่งกว่า เขาอ่านหนังสือมากกว่า เขาขยันกว่า
      ผมเรียนไปเมาไป พอถูๆไถๆ พอจบ🤣

    • @vanillasosweet4556
      @vanillasosweet4556 Před rokem +4

      ,มันต่างกัน ตั้งแต่ความรู้ความสามารถของนักศึกษาที่เข้าไปแล้วค่ะ เอาอาจารย์จุฬามาสอน เด็กก็เก่งไม่เท่ากันค่ะ ต้นทุนมันต่างกัน

    • @lelouchlamperouge3735
      @lelouchlamperouge3735 Před rokem +5

      ​@@MrFury1982 ถ้าคุณไปสมัครงานสิ่งแรกที่เค้าดูคือคุณจบมาจากที่ใหน ถ้าเป็นม.ที่ขึ้นชื่อเรื่องวิศวก็จะได้การรับเลือกก่อนอยู่ดีครับ

    • @johnmadow5331
      @johnmadow5331 Před rokem

      ที่เอมริกามีระบบการเรียนแบบ"ต่อขา" คือถ้าเราอยากเรียนวิชาทางเทคนิค แต่เราไม่ได้มีความสามารถและฐานะพอที่จะเข้าไปโดยตรงได้ เราก็ไปเรียนจากโรงเรียนวิทยาลัยระดับท้องถิ่นซึ่งเข้าง่ายและถูกกว่า ไปก่อนพอเราจบก็สามารถสมัครเข้าไปเรียนในมหาวิทยาลัยระดับดีๆได้ ระบบต่อขานี้สามารถเอาไปทำงานในบริษัทดีๆดังๆได้ในเอมริกา แต่ที่ประเทศไทยที่ยังใช้ระบบ"ชาติวุฒิ คุณวุฒิ วัยวุฒิ" ในการคัดเลือก รูปสมบัติ คุณสมบัติพนักงานในการรับเข้าดูจะลำบากอยู่

  • @giggsgie
    @giggsgie Před rokem +60

    ขนาดเด็กที่จบครูเอกอิ้ง ราชภัฎ ภาษาพูดยังไม่ได้เท่าเราจบเอกทั่วไป ของ เกษตรศาสตร์เลย ความเข้มข้น ต่างกันจริงๆนะ

    • @tsmovies4981
      @tsmovies4981 Před rokem +9

      จริงครับ สพม.สุรินทร์ ครูภาษาอังกฤษราชภัฎสอบ CEFR ได้น้อยกว่าครูวิทย์-ครูคณิตจาก จุฬา มศว เกษตร

    • @Jaikere555
      @Jaikere555 Před rokem +6

      น้าผมเป็น HR บริษัท​แห่งหนึ่งขอไม่เอ่ยชื่อถ้ามีเด็กจบใหม่มาสมัครงาน
      ราชภัฏ จะอยู่เกือบท้ายๆเลยครับ
      (ย้ำว่าจบใหม่นะครับ)
      ปล.ผมเฉยๆกับมหาวิทยาลัยต่างๆผมมองว่าอยู่ที่ฝีมือในการทำงานมากกว่า

    • @user-if3vy5yu8z
      @user-if3vy5yu8z Před rokem +3

      เอาง่ายๆ ศึกษาศาสตร์มช สอบครูผู้ช่วยติด 93% จาก นศมชที่สอบทั้งหมด // แต่สถิติทั้งไทยสอบครูผู้ช่วยติด 27% แค่นี้ก็เห็นละความแตกต่างระหว่าง ม.เล็ก - ใหญ่

    • @optimus8740
      @optimus8740 Před 11 měsíci +1

      ผมจบสายวิทย์จาก มช (ธรณีวิทยา) เคยทำงานสำรวจปิโตรเลียมกับ ปตท.สผ และก็เคยทำงานเป็น Teacher สอนภาษาอังกฤษที่สถาบันสอนภาษาชื่อดังแถวชลบุรี ต้องมาสอนพวกจบเอก Eng จากราชภัฏฯ ราชมงคล เยอะเลย ช่วยติว ช่วยสอนให้สอบผ่านครู ผมนี่งงเลย ที่รู้ว่าพวกเขาจบเอก Eng มา แต่คะแนน Toeic แค่ 500 - 550 ทั้งๆที่หลักสูตรกลางของกระทรวงศึกษากำหนดว่าคนจบ ม.6 หรือ ปวช ควรมีคะแนน Toeic ขั้นต่ำที่ 650 //

  • @gamertv.498
    @gamertv.498 Před 2 lety +10

    โลกใบนี้มันมีแต่ความวุ่นวาย วนไปวนมา ก็เพราะจิตใจของคนนี้และครับ ที่ทำให้มันเกิดเอง .. ..

  • @user-jf3nv9ui5g
    @user-jf3nv9ui5g Před 2 lety +48

    จุฬา เขาเลือกเขามีโอกาศคัดเลือก เขาจึงได้เด็กที่เกรดสี่แทบทุกวิชามาเรียน ทำให้สอนง่าย ได้คนเก่ง ส่วนม.ราชภัฎ ให้โอกาสแทบทุกคน ถือเป็นมหาลัยสำคัญมากจริงๆ

    • @Aunzalambretta
      @Aunzalambretta Před 2 lety +4

      เรียกง่ายๆ คัดเกรดจำเพาะได้เลย🤣🤣

    • @dejavu8916
      @dejavu8916 Před rokem +2

      คัดเลือกพันธุ์ดีไปแล้ว ที่เหลือก็ตามสภาพ

    • @eggs7459
      @eggs7459 Před rokem

      @@Zemon7664 โว้วๆ มันแค่มหาลัยiน้อง เขาไม่ได้ติดคุก 3ครั้ง

    • @user-jy7qc4le8e
      @user-jy7qc4le8e Před 4 měsíci

      จุฬาฯคือสัญลักษณ์ของความไม่เท่าเทียมสิเพราให้โอกาสเฉพาะเด็กเกรด4 และเด็กรวย (ไม่ได้บอกว่าฉลาดนะ)

  • @InDy-rg2fb
    @InDy-rg2fb Před 2 lety +32

    ต้องยอมรับว่ามหาลัยก็มีส่วนในการรับเข้าทำงานครับ แต่...ถ้าสกิลติดตัวเรามีมากพอ สุดท้ายยังไง เขาก็รับเด็กเส้นก่อนครับ

    • @Ko_Freya1133
      @Ko_Freya1133 Před rokem +2

      โอ้ยย..ตลกร้ายได้แค่ยิ้มแห้งจริงๆเรื่องนี้เจอมากับตัว

  • @user-fl1li8sg6g
    @user-fl1li8sg6g Před 2 lety +88

    สมมติคนจบ ปริญญาเอก
    1. คนจบปริญญาเอกที่จุฬา มาเป็นอาจารย์สอนที่ราชภัฏได้ไหม
    2. คนจบปริญญาเอกที่ราชภัฏ มาเป็นอาจารย์สอนที่จุฬาได้ไหม
    ผมว่าเปรียบเทียบได้นะครับเรื่องความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

    • @tooksapek2246
      @tooksapek2246 Před rokem +33

      ปริญญาเอกจุฬาเข้ายากและจบยากกว่า
      ปริญญาเอกราชภัฏเข้าง่ายและจบง่ายกว่า
      คิดว่าสถาบันไหนควรจะรับใครเป็นอาจารย์

    • @user-sc8oc1fh6n
      @user-sc8oc1fh6n Před rokem +16

      จริง เป็นคำถามที่ไม่ต้องคิดคำตอบนานเลย

    • @ggzt01
      @ggzt01 Před rokem +13

      เปรียบเทียบได้เห็นภาพเลยครับ

    • @user-wq4lm7fc8o
      @user-wq4lm7fc8o Před rokem

      หมายถึง ป.โท หรือเปล่าครับ

    • @denangra
      @denangra Před rokem +2

      จบที่ไหนๆก็เหมือนกันครับ เพราะอยู่ที่คสามคิอ วุฒิก็แค่กระดาษ แผ่นเดียวเพื่ออัพเงินแค่นั้น

  • @chokthumrongchongchorhor7674

    นำเสนอได้ดีครับ ขอบคุณครับ

  • @mcthai1000
    @mcthai1000 Před 2 lety +6

    ไม่มีทางเหมือนกันครับ คุณภาพครุผุ้สอน สังคมเพื่อนๆที่จะต่อยอดไปในอนาคต ที่สำคัญเลยคือ ค่านิยมในสังคม

  • @jasikajasika
    @jasikajasika Před 2 lety +2

    เราเป็นเด็กเกเล เลยมีโอกาสเคยได้เรียนหลายมหาลัยและสุดท้ายจบราชภัฏ บอกเลยว่ามันต่างกันพอสมควร ไม่ใช่ดีกว่าแย่กว่าหรอกนะ แต่หลักๆเลยเป็นเรื่องโอกาสต่างๆระหว่างเรียนโดยเฉพาะคอนเน็คชั่น มหาลัยที่มีคนหลากหลายกว่าก็จะมีโอกาสได้เพื่อนเจอคนที่ชอบเหมือนกันและมีสักยภาพต่อยอดสิ่งที่อยากทำได้จำนวนที่มากกว่าจริงๆนะ

  • @hmongdrummer
    @hmongdrummer Před rokem

    ขอบคุณครับความรู้อีกมุมเลย

  • @pairuable
    @pairuable Před 2 lety +5

    ถ้าราชภัฏต่างจังหวัด แถวภาคกลางตอนล่าง ภาคตะวันตก ต้องไปดูราชภัฏเพชรบุรี เดี๋ยวนี้มีเด็กจากทั่วทุกภาคไปเรียนที่ราชภัฎเพชรบุรีมากขึ้น เมื่อก่อนเริ่มมาจากเด็กทางใต้ แต่เดี๋ยวนี้เด็กจังหวัดทางภาคกลางตอนบนๆ ที่จังหวัดนั้นก็มีราชภัฏเหมือนกัน ยังมาเรียนที่ราชภัฎเพชรบุรี และมีทั้งเก็กจากทางอีสาน จากทางเหนือก็เริ่มมาราชภัฎเพชรบุรีเยอะ

  • @supastazolex33
    @supastazolex33 Před rokem +7

    ก้อเหมือน รร มัธยม ประถมอะค่ะ รร ดังๆมีครูที่เก่งและครูที่เก่งก้อสอนที่ รร ดีๆ วนลูปแบบนี้คุณภาพก้อไม่กระจาย แต่กระจุกตัวอยู่กับ รร ดังๆ สาธิตต่างๆ ไม่ใข่แค่ระดับมหาลัย จิงๆเป็นกันทั่วโลกค่ะ

  • @kongdetluckystar419
    @kongdetluckystar419 Před 2 lety +28

    ค่านิยมเฮงซวยบูลลี่เรื่องไม่เป็นเรื่อง
    ทำให้เกิดความไม่พอใจเกลียดชังกันเปล่าๆ แทนที่มหาลัยจะเป็นแหล่งความรู้สร้างประโยชน์แก่คนทั่วไป เพราะโลกพัฒนาตลอด ชุดความรู้ 5 ปี 10 ปี ผ่านไปมันไม่เหมือนเดิม มัน Update ตลอด
    ในยุคปัญหาวิกฤตโลก ทุกคน ทุกหน่วยงาน ทุกภาคส่วน ควรนำข้อดีเด่นที่ต่างกันมาใช้ส่งเสริมกันให้เกิดประโยชน์แก้ปัญหาสังคมโลก

  • @karunphatana5931
    @karunphatana5931 Před rokem +11

    ตรรกปลอบใจตัวเองกับคำพูดที่ว่าเรียนที่ไหนก็เหมือนกัน​ ในโลกความเป็นจริงไม่เหมือนจ้าาาา

  • @ayaka4672
    @ayaka4672 Před rokem +10

    ยังไงก็สู้มอ top ไม่ได้ ไม่เชื่อลองเอาข้อสอบไปเทียบดู ความเข้มข้น กับความยาก คนละเรื่อง คณะไรก็ได้ สาขาไรก็ได้

    • @giggsgie
      @giggsgie Před rokem

      ถูกค่ะ นี่จบ มก. เลือดตาแทบกระเด็น จบแค่2 กว่าๆ เคมีหินมาก

    • @ayaka4672
      @ayaka4672 Před rokem +1

      @@giggsgie เช่นกันครับ แทบทุกสายเลยก็ว่าได้ นี่จบบัญชี มเอกชน ลองเอาข้อสอบเก่าไปเทียบกับ บัญชีจุฬา เข้าใจเลยทำไมBig4 ถึงเลือกพิจารณาจุฬาก่อน ไม่ใช่เฉพาะ ผู้ประกอบการในไทยหรอก บริษัทข้ามชาติเขาก็รู้ เพราะฉนั้นเด็กไทยต้องเลิกหลอกตัวเองก่อนแล้วพยายามให้เต็มที่ เคร๊

    • @oroshicenter
      @oroshicenter Před rokem +4

      ​@@ayaka4672 จุดประสงค์ของการตั้งมหาวิทยาลัยก็ต่างกันครับ
      ราชภัฏฯ ตั้งขึ้นมาเพื่อกระจายการศึกษาสู่ท้องถิ่น ให้คนท้องถิ่นมีการศึกษาเพื่อมาพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง
      เปรียบเทียบเพื่อพัฒนาและกระจายองค์ความรู้ร่วมกันดีกว่า
      ดีกว่าการเปรียบเทียบเพื่อโชว์พาวว่าใครเก่งกว่ากัน อันนี้ผมว่า ไร้ประโยชน์ และยังไม่เข้าใจความเป็นไปของประเทศจริงๆ เลย มันไม่ใช่แค่ความพยายามหรือความฉลาดหรอก
      .
      คุณจะมาดูกถูกคนที่แค่ไม่ได้เรียนมหาลัย top ของประเทศไม่ได้ ระบบประเทศไทยมันถูกสร้างให้เหลื่อมล้ำอยู่มาก อย่างภาษีถูกเก็บจากคนทัั้งประเทศ แต่ก็ถูกนำไปพัฒนาอยู่แค่กรุงเทพ ทุกสิ่งอย่าง ง่ายๆ ประเทศเราในต่างจังหวัดยังไม่มีรถไฟฟ้าเลยยกเว้นกรุงเทพฯ ฉะนั้น ก็ไม่แปลกที่มหาวิทยาลัยในเขตกรุงเทพจะได้รับเงินทุนสูงเพื่อการพัฒนาและดึงบุคลากร
      .
      ลองไปศึกษาดูนะครับ ว่าสิงคโปร์เขาพัฒนาการศึกษาอย่างไร ประชากรเขามีอุดมการณ์ความคิด การสร้างค่านิยมให้กับลูกหลานยังไง เขาดูถูกกันแบบนี้ไหม หรือเขาจัดอันดับมหาวิทยาลัยไหม ลองศึกษาครับ
      .
      คนไทยยังหลงการตีตราผู้คนจากแค่มหาวิทยาลัยที่จบมา เป็นรากเหง้าที่จริงที่ทำให้ประเทศยังมีความเหลื่อมล้ำอยู่เสมอ และเชื่ออย่างปักใจว่า คนเรียนมหาลัยในภูมิภาค คือ เด็กไม่ฉลาด เท่ามหาวิทยาลัยในเมือง

    • @bosdulyawat4127
      @bosdulyawat4127 Před měsícem

      จุฬา พระนครเหนือ ธรรมศาสตร์ บางมด ขอนแก่น เชียงใหม่ ก็สอบตรงเข้ายากมากๆครับ ต้องขยันอ่านหนังสือกว่าจะสอบติด

  • @banksmith2351
    @banksmith2351 Před rokem +3

    อย่าว่าแต่ ป.ตรี เลย ช่างเทคนิคจบ ปวส. บางคนมันยังทำงานรอบคอบดีกว่าวิศวกรบางคนซะอีก จบจากไหนไม่ใช่ประเด็น ทำงานให้เป็นคือประเด็นสำคัญ

  • @kittiphanch9993
    @kittiphanch9993 Před rokem

    พูดได้ชัดมากครับ

  • @abbragg1
    @abbragg1 Před rokem +4

    บางคนจริง บางคนไม่จริง ถ้าคนตั้งใจใฝ่รู้ ใฝ่เรียน เรียนอยู่ที่ไหนก็ไม่เป็นอุปสรรค

  • @panyaaprecha2636
    @panyaaprecha2636 Před 2 lety +8

    น่าห่วง ภาษาอังกฤษ
    ภาษา เกิดจากฝึกฝนครับ
    นศ.ออกแรงน้อยไปหน่อย

  • @fantasiadeamorhpp7702

    ความจริงมันโหดร้ายครับ

  • @addthceo6320
    @addthceo6320 Před 2 lety +2

    เรียนที่ไหนก็เหมือน แต่มาต่างกันมากตอนจบแล้วไปทำงาน HR มักถามว่าเรียนจบที่ไหนมา

  • @user-dk4cl7nc4l
    @user-dk4cl7nc4l Před 2 lety +7

    ผมจบราชภัฏ จบมารับราชการ 10 กว่าปี จนเหมือนเดิม รายรับมีแต่เงินเดือน กับ รอถูกหวย

    • @jumpiam8477
      @jumpiam8477 Před 2 lety +1

      จบราชภัฏเหมือนกัน แต่เราเลือกทำงานบริษัทเอกชนค่ะ ราชการจะสบายตอนแก่ค่ะ ถ้ามีสวัสดิการรักษาฟรี

    • @optimus8740
      @optimus8740 Před 11 měsíci

      ชีวิตเหมือนเพื่อนผมเลย แต่ราชภัฏฯ ส่วนใหญ่เลยเลือกไปสายราชการน่ะถูกแล้ว เพราะถ้าไปเอกชนใหญ่ๆ และสายธุรกิจต่างๆ รับยากไง โอกาสน้อยมาก แต่ราชการไม่เลือกสถาบันไง ขอแค่สอบผ่าน แต่ราชการไม่รวยแน่นอน แต่ก็ไม่จนไง พออยู่พอกิน ในหลวง ร.9 สอนพอเพียงก็สอนพวกข้าราชการนี่แหละ

  • @user-zg9lo2hk2u
    @user-zg9lo2hk2u Před 2 lety +3

    ทำไมราชภัฏไม่เข้าร่วมโครงการฯเรียนข้ามสถาบัน
    ตอนนี้มหาวิทยาลัยรัฐ 25 จาก 40แห่ง สามารถเรียนข้ามมหาวิทยาลัยได้แล้ว ราชมงคลทั้ง 9 แห่งก็สามารถเรียนข้ามมหาวิทยาลัยได้แล้วภายในราชมงคล

  • @user-is5io3is7x
    @user-is5io3is7x Před rokem +4

    เรียนจบมาจากมหาวิทยาลัยชั้นนำแต่ทำมาหากินไม่เป็นก็ไร้ค่า คนเรียนจบรามคำแหงได้เป็นผู้พิพากษาก็เยอะ

    • @user-uc2st5wo6d
      @user-uc2st5wo6d Před rokem +1

      จริงครับ รามเข้าง่ายกว่าจะจบออกไปได้สุดๆๆ

  • @chulawong6610
    @chulawong6610 Před 2 lety +37

    พื้นฐานการศึกษา คือข้อต่าง
    สถานที่ สื่อ ผู้สอน ให้ประสบการณ์ไม่เหมือน กัน
    แต่ถ้าคนเรียนใส่ใจ จะเหมือนกัน

  • @user-jn6me8qe5t
    @user-jn6me8qe5t Před rokem +1

    มือถือโทรได้ ถ่ายได้เหมือนกัน ทุกยี่ห้อไหม ใช้ได้ทนได้ประโยชน์เท่ากันหรือเปล่า
    นี่แค่วัตถุออกจากโรงงานที่มีมาตรฐานควบคุมจริงจังตั้งแต่วัตถุดิบ ไม่ใช่คนที่มีปัจจัยซับซ้อน รวมถึงสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
    อย่าหลอกกันเองเลย เริ่มจากยอมรับก่อนว่ามันมีความต่าง แล้วจะสู้หรือจะหงายท้องขาชี้ฟ้าก็ว่ากัน

  • @inviscwiz2472
    @inviscwiz2472 Před rokem

    คนพูดดูยังไม่มีฝีมือแบบมืออาชีพเท่าที่ควร การเรียบเรียงประเด็นมีการซ้ำซ้อน ข้อมูลประวัติศาสตร์ดี แต่ข้อโต้แย้งที่ตรงประเด็นกับชื่อวีดีโอคือ "เหมือนกันจริงหรือ" มีพูดถึงนิดเดียว คือไปค้นพันทิปเอายังได้ข้อมูลมากกว่า จึงทำให้ไม่ค่อยเกิดประโยชน์

  • @ThamGK99
    @ThamGK99 Před rokem

    ความเหลื่อมล้ำทางโอกาสการเรียน และการเข้าถึงข้อมูล เอาง่ายๆ เปรียบเทียบโรงเรียนเตรียมอุดม กับโรงเรียนวัด บุคคลากรแตกต่างกันมากมาย มาตรฐานก็ต่างกัน ไม่ได้หวังให้ทุกโรงเรียนเป็นเช่นนี้ แต่ถ้าทราบว่าโรงเรียน มหาวิทยาลัยไหนประสบความสำเร็จ ทุกวันนี้เทคโนโลยีก็ก้าวหน้า น่าจะมีการถ่ายทอดการเรียนการสอนที่ถือว่ามีคุณภาพให้ทุกแห่งได้ฟังได้ศึกษา ทั้งคณาจารย์ต่างๆเอามาเปรียบเทียบปรับปรุง ให้เด็กนักเรียน นักศึกษา ได้รับความรู้ในระดับเดียวกันที่ประสบความสำเร็จได้
    เพิ่มทางเลือกให้มากกว่าที่เป็นอยู่ เด็กบางคนไม่ได้ฉลาดหรือมีไอคิวเท่าคนอื่น แต่อีคิวหรือสิ่งอื่นๆดีกว่า แต่ทางเลือกทางการศึกษาไทย ต้องเป็นคนเก่งเท่านั้นถึงจะได้รับคำเยินยอ หรือได้รับโอกาส ถ้ามีทางเลือกเฉพาะสายเพิ่ม โรงเรียน มหาวิทยาลัย ที่เด่นด้านต่างๆให้เป็นทางเลือกปรับระบบการศึกษาให้เหมาะกับความถนัด ก็จะมีทางเลือกและลดค่านิยมจะประสบความสำเร็จต้องเก่ง ออกจากสังคมไทย เก่งแต่เข้ากับคนอื่นไม่ได้ มันก็ตายในสังคมการทำงานอยู่ดี ถ้านัดสิ่งไหนและทำให้ดีตามที่ถนัดก็ยอม สร้างคนที่มีคุณภาพได้ หลายด้าน

  • @JustAnotherChapterOfLife
    @JustAnotherChapterOfLife Před 2 lety +7

    เอาจริงนะ​ จบจุฬา​ฯ 2.5 กับจบราชภัฏ​เกียรติ​นิยม... คนจ้างงาน​ 100 ทั้งร้อยเลือก​ จุฬาฯ ค่ะ​ ค่านิยมมันเป็นสิ่งที่​เปลี่ยน​ความคิดของ​คน​ไม่ได้​จริงๆ​ ที่​ไหนๆ​ก็ตาม...

    • @jumpiam8477
      @jumpiam8477 Před 2 lety +11

      เราเคยสัมภาษณ์งาน เค้ารับเราเลย ผู้จัดการบอกว่าภาษาเราดีกว่าคนจบจุฬา จบเอแบค จบม.ดัง ๆ ซะอีก ถึงจะจบราชภัฏ แต่ถ้าพัฒนาศักยภาพตัวเองเสมอ เราก้อจะสู้เค้าได้ ขอแค่โอกาสที่เสมอภาคกันค่ะ

    • @plingz754
      @plingz754 Před 2 lety +1

      จริง บางครั้งมันก็ไม่ใช่ความผิดเราเลย

    • @jumpiam8477
      @jumpiam8477 Před rokem

      @user-ut3xl7ps7f เราไม่ได้เปรียบเทียบ คนที่สัมภาษณ์งาน เค้าบอกเราแบบนั้น งานนั้นเงินเดือนเริ่มต้น 16,000 บาท ใกล้บ้านและมีรถรับส่งพนักงาน เมื่อ 20 ปีที่แล้วนะ ตอนนี้เราทำงานอยู่ตปท. ถ้าบุคคลนั้นพร้อมจะพัฒนา เราจะเห็นโอกาสที่ดีเสมอ

  • @anankirawittayar806
    @anankirawittayar806 Před rokem +5

    ต่างกันแน่นอนครับ จุฬาว่า top top ก็ยังสู้ Oxford ไม่ได้ คุณภาพกับความยากมั่นต่างกัน แต่บางสาขา ก็สู้มหาลัยชีวิตไม่ได้

    • @patreturn5383
      @patreturn5383 Před rokem +5

      Oxford กับ จุฬา อย่าไปเทียบกันเลย มันคนละโลก

    • @user-lu2nt5sx3k
      @user-lu2nt5sx3k Před 11 měsíci

      จริงคับ น้าผมเป็นครูไปเรียนต่อที่ มหาลัยเฮลชิงกิของฟินแลนด์
      มหาลัยไทยยังถือว่าห่างชั้นครับ

  • @chaisiripuklang3712
    @chaisiripuklang3712 Před rokem +1

    จังหวัดบ้านผม สตูล เพิ่งมีราชภัฏมาเปิดที่เป็นวิทยาเขตสงขลา แต่นักศึกษาแทบจะไม่มีเลย เปิดแค่ไม่กี่คณะ พฤติกรรมของเด็กจบใหม่ที่นี่ ตั้งแต่อดีตคือ มักจะออกไปเรียนในจังหวัดใกล้เคียงมากกว่า ทั้งสงขลาและตรัง เพราะมันไม่ไกลบ้าน และมีตัวเลือกในการเลือกเข้าสอบเยอะกว่า เช่น เทคโนตรัง,เทคโนสงขลา,ราชภัฏสงขลา,ม.ทักษิณ,ม.อ.หาดใหญ่ หรือ ถ้าคนมีตังหน่อย ก็ส่งลูกเรียนเอกชนเลย เช่น มหาลัยหาดใหญ่ ผมจึงคิดว่า ทำไมเขาถึงมาเปิดที่นี่ เปิดมาหลายปีแล้ว ผมก็ยังไม่เคยเห็น นศศ.เลย รู้ว่ามีนะ แต่ก็ไม่เคยเห็น

  • @minga3568
    @minga3568 Před rokem +1

    มหาวิทยาลัยรัฐ บางคณะโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ประยุกต์
    นักศึกษาที่เรียน นอกจากจะต้องจ่ายค่าเล่าเรียนเหมือนเอกชน แต่ยังมีข้อผูกมัดจะต้อง
    ทำงานชดใช้ทุนที่เรียน 1-2 เท่าของจำนวนปีที่ศึกษา ซึ่งเอกชนไม่มีข้อผูกมัดเช่นนี้เลย
    ถามว่าทำไมรัฐจึงต้องจ่ายค่าอุดหนุนให้
    เพราะไม่เช่นนั้นแล้ว ลูกของคนจนๆ จะไม่มีโอกาสเข้ารับการศึกษาสาขาเหล่านั้นเลย
    การสอบแข่งขัน คัดเลือกเข้าศึกษา
    แม้จะไม่ใช่หนทางที่ดีที่สุด แต่อย่างน้อยก็ได้คุณภาพพื้นฐานที่จำเป็น
    และเป็นการเปิดโอกาสให้แก่ชนทุกระดับฐานะทางเศรษฐกิจ

  • @elleyhappy8190
    @elleyhappy8190 Před 2 lety +3

    ถูกต้องเลยค่ะจะเรียนที่ไหนก็เหมือนกัน มันอยู่ที่ตัวบุคคล👍👍

    • @elleyhappy8190
      @elleyhappy8190 Před rokem

      @rot ​ ในความหมายของเราคือ ได้ใบปริญญาเหมือนกันค่ะ ไม่ว่าเรียนรัฐหรือเอกชน เรียนจบ ก็ได้ใบปริญญาเหมือนกัน และนำใบนี้มาสมัครงาน ตอนนี้ล่ะอยู่ที่คนๆ นั้นแล้วล่ะค่ะว่า ทัศนคติ ความคิดเห็น ความสามารถ บุคลิกภาพ เป็นอย่างไร เวลาสัมภาษณ์ค่ะ

  • @user-mm2qo1jx5w
    @user-mm2qo1jx5w Před 2 lety +3

    อยู่ที่คนน่ะ จบมาคิดว่าตัวเองเหนือกว่าคนอื่นๆนี้น่ะหรือที่เรียกตัวเองว่าบันฑิต ก็ไม่ต่างที่ไปดูถูกเขา

  • @nongnitthatulwatthana4896

    ประเด็นนี้เริ่มมาจากอะไรเนี้ย ก่อนมีดราม่า งงไปหมดว่ามันใช่เรื่องที่ควรเอามาทะเลาะกันหรอ ประเทศต้องการคนเก่งอีกมากแข่งกันเก่ง แข่งกันพัฒนาเถอะ ไม่ใช่มาบัฟกันเอง

    • @visetaut9561
      @visetaut9561 Před rokem

      ถามคุณธนาธรสิครับ

  • @anuchitpattarawuttiporn1104
    @anuchitpattarawuttiporn1104 Před 4 měsíci

    ผมมองว่าต้องพูดกันแบบ realistic ครับ
    ทุกอย่างในโลกมันมีการจัดชั้น(grading)ทั้งนั้นแหละครับ
    ไม่เกี่ยวกับความดีหรือความเลว แต่มันเกี่ยวกับประสิทธิภาพ
    (efficiency)หรือการตอบสนองต่อความต้องการ
    ทำไมอเมริกาถึงมี Harvard, Yale, MIT
    ทำไมอังกฤษถึงมี Cambridge, Oxford
    ฉันใดฉันนั้นทำไมไทยถึงมีจุฬา, ธรรมศาสตร์
    ไม่ต้องหาเหตุผลว่าทำไมถึงมีการเปรียบเทียบและถ้าต้องเลือก
    จะเลือกที่ไหน มันคือ axiom หรือความจริงที่ไม่ต้องพสูจน์ ทุกคนมี
    เสรีภาพที่จะเลือกและแน่นอนต้องผ่านกระบวนการคัดเลือกมาแต่ต้น
    อย่ามาตีโพยตีพายทีหลังเลยครับว่าไม่ fair
    กระบวนการ grading มันเริ่มมาตั้งแต่ประถม มัธยม แล้วครับ
    ทำไมคนอยากให้ลูกหลานเข้าเรียนกรุงเทพคริสเตียน,เซ็นต์คาเบรียล,
    มาแตร์เดอี, สวนกุหลาบ หรือเตรียมอุดม ไม่เห็นมีใครขวานขวายอยากให้ลูกหลานเข้าเรียนโรงเรียนวัดโน้นวัดนี้

  • @ittipon29
    @ittipon29 Před rokem +2

    สุดท้าย จบสถาบันไหนก็ไม่สามารถเอาชนะคนที่มีอคติได้ เพราะมันไม่มีเรื่องของสถาบัน แต่มันคือ คนๆนั้นมองสถาบันอื่นอย่างไร

  • @PortraitmanProduction
    @PortraitmanProduction Před 2 měsíci

    มีข้อได้เปรียบจริงๆครับ จบปี 62 ตกงานตั้งแต่จบ และลากยาวถึงปัจจุบัน

  • @Topsecret-vd5us
    @Topsecret-vd5us Před rokem +1

    พ่อแม่นี่แหละตัวดีเลย ปลูกฝังลูกแบบผิดๆ

  • @maytagorn99
    @maytagorn99 Před 2 lety +5

    สมัครงานกรณีเด็กจบใหม่ อย่างแรกที่ถามคือ จบที่ไหนมา

  • @jakkarinshichan8643
    @jakkarinshichan8643 Před rokem +1

    คนจนไม่มีสิทธิ์เลือกอะไรทั้งนั้น เศร้าใจ

  • @000soulmate000
    @000soulmate000 Před rokem +3

    มหาวิทยาลัยมีผลกับการทำงานที่แรกค่ะ ตัวชี้วัดคุณภาพอันแรกตอนที่คุณยังไม่มีประสบการณ์ทำงานคือชื่อมหาวิทยาลัยแน่ๆ แต่หลังจากนั้นอยู่ที่บุคคลล้วนๆ ถ้าทำงานเก่งจริงชื่อมหาวิทยาลัยไม่สำคัญอีกแล้วค่ะ บางคนม.ดังทำงานห่วย บางคนม.ไม่ดังแต่ทำงานดี อยู่ที่ความพยายามขวนขวายหาความรู้ละว่ามีมากน้อยแค่ไหน

  • @FC576
    @FC576 Před 2 lety +11

    ก็ทำให้ทุกมหาวิทยาลัยให้มีมาตรฐานเดียวกันเหมือนเยอรมัน จะได้ไม่มีปัญหา ว่าที่ไหนดีกว่า เพราะทุกที่ดีเท่ากัน

    • @user-ip1kg1qm9f
      @user-ip1kg1qm9f Před 2 lety +25

      ประเทศไทยมีความเหลื่อมล้ำทุกเรื่องครับ การศึกษาก็เช่นกัน

    • @Aunzalambretta
      @Aunzalambretta Před 2 lety +5

      เป็นไปได้ยากครับ

    • @4444bg4444
      @4444bg4444 Před 2 lety +3

      หากเท่ากันหมด จะขาดการแข่งขัน นำไปสู่ด้อยประสิทธิภาพลงนะครับ การศึกษาควรจะแข่งขันกัน เพื่อให้ไต่ระดับไปสู่ระดับที่สูงกว่า ส่วนคนเรียน ก็ต้องทุ่มเทเพื่อให้ได้เข้าเรียนที่ดี หากไม่ได้ ก็ตั้งใจ แล้วไปเข้าในระดับที่สูงกว่า

    • @MrBupkus
      @MrBupkus Před 2 lety +3

      @@4444bg4444 เกรด 4 ราชภัฎ ทำไมเวลาสัมภาษณ์งานไม่เท่ากับเกรด 4 จุฬา เคยสงสัยไหมคับ? นี่เรียกว่าเป็นการเหลื่อมล้ำทางการศึกษาใช่ไหม ? เพราะว่าหลักสูตรดีๆ ครูเก่งๆ มันไปกระจุกตัวอยู่แค่ในเมือง ถ้าใช้มาตราฐานเดียวกันสอน ครูเก่งเหมือนกัน ก็น่าจะได้ผลลัพท์ที่ดีกว่าแน่นอน ถ้าการเรียนการสอนมันเหลื่อมล้ำกันขนาดนี้ มันก็วัดอะไรไม่ได้หรอกคับ

    • @4444bg4444
      @4444bg4444 Před 2 lety +3

      @@MrBupkus ในชีวิตมีทางแยกหลายทาง เมื่อเราต้องสอบเข้าประถม เราอาจเตรียมตัวไม่ดีพอ สอบเข้าโรงเรียนดีๆไม่ได้ ก็น่าจะขยันอดทน บากบั่นเพิ่มเพื่อเข้าโรงเรียนดีๆ ในตอนมัธยม หรือมหาลัยที่ดีให้ได้ แม้นเข้าเรียนราชพิพัฒน์ จบมาเราขยันขันแข็ง เรียนเก่ง แต่ใบปริญญามันแค่ใบเปิดทาง เพราะเขาไม่รู้จักเราเลยจึงต้องใช้สิ่งต่างๆมาช่วย ใบปริญญาจาก ราชพัฒน์ จึงไม่ขลังเท่าของจุฬา แต่หากเรายอมทำงานเก็บประสบการณ์ไป เมื่อมีประสบการณ์เก่งขึ้น เราก็แสดงฝีมือให้คนอื่นเห็น ตอนนั้นคนต่างๆ จะชื่นชมมหาลัยราชพัฒน์จากผลงานที่คุณทำนี่ล่ะ หรือจะไปเรียนต่อมหาลัยที่ดีกว่าจุฬาลงกรณ์ ในโลกนี้มีตั้งเยอะแยะ ก็ไปสอบเข้าเรียนแล้วกลับมาตบหน้าพวกที่ดูถูกเราสิ แต่จะดึงให้ทุกสถาบันต้องเท่ากัน เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ อืม มันเป็นข้ออ้างของผู้ที่ขี้เกียจ ไม่ยอมพัฒนาตนเองต่างหาก

  • @leospartacus6668
    @leospartacus6668 Před 2 lety +4

    คุณจั๊ด จบนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ

  • @flowerrose1120
    @flowerrose1120 Před rokem

    น่าจะมีpodcast นะคะเนี้ย

  • @hugo8929
    @hugo8929 Před měsícem

    ได้ยินว่าราชภัฎปล่อยเกรด เลยทำให้คุณภาพลดลงไม่ใช่ความผิดนักศึกษา แต่อาจารย์ และมหาลัย ควรต้องปรับปรุงให้มีมาตรฐาน

  • @guaiplay9675
    @guaiplay9675 Před 2 lety +26

    เรียนที่ไหนแล้วจะเหมือนไม่เหมือน เป็นข้อเท็จจริงส่วนบุคคลตามเงื่อนไขของแต่ละคน ไม่ใช่ข้อเท็จจริงของจักรวาล ถ้าคนเราหัดยอมรับในตัวเองและคนอื่น ก็จะหลุดจากหล่มนี้ได้ แต่น่าจะไม่เหมือนกันสำหรับคนส่วนใหญ่นะ ที่เคยเจอมาพวกเรียนที่ไหนก็เหมือนกันจะมีพวกเก่งโดยธรรมชาติ กับพวกที่ชัดเจนในตัวเองแล้ว ซึ่ง... เท่าที่นึกออกในชีวิตที่ผ่านมาเคยเจอแค่ 7 คน

  • @plammykidsplay5113
    @plammykidsplay5113 Před rokem +2

    ขนาดจุฬายังไม่ติดท็อป10ของเอเชีย ที่ต่างประเทศมันจะเข้มข้นขนาดไหนเนี้ย

  • @nunamama3335
    @nunamama3335 Před rokem +1

    ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษานั่นแหละ คือจุดเริ่มต้น

  • @gustbellzaza21
    @gustbellzaza21 Před 2 lety +5

    มันเป็นรากเง่า...วัฒนธรรมอดีต...รองฟังเพลงเก่าแล้วแกะเนื้อหาเพลง....มันสะท้อนวัฒนธรรม.....บางอย่างเช่นเนื้อท่อน
    เรียนราชภัฏ..เพราะเอนทรานซ์ไม่ติด....
    หนุ่มราชภัฏอัตคัตเงินทอง...ได้แค่มองรอบรั้วมหาลัย... คนแต่งสะท้อน..ถึงอะไร...
    ...ถ้าจะแก้คือ...แก้รากเง่าการปลูกฝังทางความคิด...

  • @kittibanchongrattanangam808

    เคยอยู่ bank 30 ปีก่อน มีเงินเพิ่มสำหรับ คนจบ มหาวิทยาลัย top เช่น จุฬา, มธ,มก,มช

    • @000soulmate000
      @000soulmate000 Před rokem +1

      ส่วนตัวอยู่สายโรงงานค่ะ ปัจจุบันยังมีเรทเงินเดือนแบบนี้อยู่จริงๆ

  • @moos81
    @moos81 Před rokem +2

    ก็เหมือนกับ รักษาโรงบาลไหนก็เหมือนกันนั้นแหละ

  • @niroteMHEE7418
    @niroteMHEE7418 Před 2 lety +5

    อืมรู้จัก ม. แห่งนึงหลังๆเน้นบริหารทรัพย์สินมากกก จนเด็กที่มาเรียนคุณภาพลดลง😂

  • @pjpj7154
    @pjpj7154 Před 2 lety +23

    ผลิต ใบปริญญา มากกว่า ความรู้ ความสามารถ ปริญญาเลยเฟ้อ

    • @user-fw8zr5cu9d
      @user-fw8zr5cu9d Před 2 lety +5

      พูดได้ดี​

    • @alextom7686
      @alextom7686 Před rokem +4

      แล้วคุณรู้ไหมว่า โรงเรียนทุกโรงคือธุรกิจอย่างนึง

    • @optimus8740
      @optimus8740 Před 11 měsíci

      ยุคปริญญาเฟ้อ คนที่หัวสมองห่วยที่สุดในรุ่น ตอนประถมฯ ยังสามารถเรียนจบปริญญาได้เลย ถ้าที่บ้านมีเงินส่งเรียน และถ้าไม่เกรกมากเกินไป พูดง่ายๆ ยุคที่คนโง่ก็เรียนจบปริญญากันได้ (รับหมด ไม่คัดคน)

  • @anonymous-td7ty
    @anonymous-td7ty Před 2 lety

    จริงหรือ

  • @SELENA_MARISA
    @SELENA_MARISA Před 2 lety +2

    มหาวิทยาลัยราชภัฏเดียวที่ออกจากระบบได้คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตเป็นมหาวิทยาลัยสวนดุสิต

  • @suwananjaipang2218
    @suwananjaipang2218 Před rokem

    ไม่คับลูกผมย้ายมาหลานโรงเรียนละ

  • @user-uh6jc9oi4u
    @user-uh6jc9oi4u Před rokem +2

    ไม่เหมือนครับ
    ทั้งความรู้ของ"คนสอน"
    ทั้ง สิ่งแวดล้อม ของ นักเรียน
    เวลาจบมา ชื่อเสียงของ สถาบัน ก้เกี่ยวอีก

  • @panjung7970
    @panjung7970 Před rokem

    ช่อง31ให้ไปไหนแล้วคะ

  • @dogking8073
    @dogking8073 Před rokem +1

    ความจริงมันไม่เหมือนกันอยู่แล้ว แต่ทำไมไม่ปฏิรูปปรับเปลี่ยนให้มันเหมือนกันเท่ากันละจะแย้งกันไปมามันได้อะไร

  • @romeoblue2555
    @romeoblue2555 Před rokem

    เป็นคำพูดติดปากของพวกไม่มีปัญญาเรียนที่ดีๆครับ ปลอบใจตัวเอง

  • @chulalakpuiphirom3839
    @chulalakpuiphirom3839 Před rokem +1

    เราจำเป็นต้องเข้ามหาลัยทุกคนหรือไม่ ความเหลื้อมล้ำทำให้คนมีระดับชนชั้น เอาจริงเราแก้ความเหลื้อมล้ำไม่ได้ ทำไมต้องมีมหาลัยเยอะขนาดนั้น วิทยาลัยอาชีพก็ไม่ได้แย่ ประเทศเราต้องการคนทำวิชาชีพตั้งเยอะ

  • @r.ph.3490
    @r.ph.3490 Před rokem

    ❤❤❤

  • @naoto_JP
    @naoto_JP Před 2 lety +2

    ไม่เหมือนแน่นอน หลักสูตร และวิธีการสอนก็แตกต่างกันแล้ว ผลลัพธ์ก็แตกต่างกัน แต่ๆ ใช่ว่า ม.ระดับท้ายจะไม่มีคนเก่งเลย มีนะแต่คนเก่งอาจจะน้อยมากกว่า เท่านั้นเอง เพราะบางคนเรียนเก่งแต่อาจจะมีปัญหาด้านปัจจัยทุน จึงมีข้อจำกัด แต่ถ้า ม.ระดับท้ายๆ สร้างความเข้มข้นในการเรียน หลักสูตร ก็จะยกระดับได้เช่นกัน

  • @bonkbonkbonk9624
    @bonkbonkbonk9624 Před rokem +1

    ทัศนคติเป็นสิ่งที่ต้องใช้เวลาในการเปลี่ยน และผมเชื่อว่ายังไงก็จะเป็นแบบนี้ต่อไปเรือยๆไม่เปลี่ยนแปลง

  • @aphawanhoraban6108
    @aphawanhoraban6108 Před 2 měsíci

    เด็กเรียนโรงเรียนวัดถ้าพยายามก็ดีได้ เด็กเรียนนานาชาติถ้าไม่เอาก็หลงทางได้เหมือนกัน นั่นคือความหมายเรียนที่ไหนก็เหมือนกัน..

  • @user-rb6zk8dl6m
    @user-rb6zk8dl6m Před rokem

    คำถามคือคุณภาพ ท่านตอบเป็นโจ๊ก ปลัดเก่ง ทวยเทพ

  • @user-nx7uo4jv2v
    @user-nx7uo4jv2v Před rokem +1

    ไม่ได้ดูข่าวพี่ตั้งนานตั้งแต่เลิกกับแฟนไปพึ่งได้โทรสัพ ชื่อราบงานโคตรเอาเรื่องเลยอย่างชอบ

  • @pjpj7154
    @pjpj7154 Před 2 lety +3

    ไม่มีทางเหมือน เพราะคอนเนคชั่นต่างกัน

  • @user-lu2nt5sx3k
    @user-lu2nt5sx3k Před 11 měsíci +1

    มันคือความจริงครับของระบบการศึกษาแต่ละที่คับ จุฬา มหิล เกษตรศาสตร์ มหาลัยลำดับต้นๆของไทย ถ้าเทียบกับ มหาวิทยาลัย
    เฮลชิงกิ ของฟินแลนด์ ก็ยังถือว่าห่างชั้นครับ

    • @Sniper-tf6sk
      @Sniper-tf6sk Před 11 měsíci

      ใช่เข้ามองเรอกระจอก แต่เรากำลังเอาฝรั่งเป็นต้นแบบถุย ทำมาเหยียดคนอื่นสุดท้ายก็ แค่ก๊อปเค้ามา ทั่งรั้นหมาลับดังๆๆก็แบบนี้แหละ

  • @kingofthekingmyhomeland957

    เรียนที่ใหนก็จบเหมืนกันแต่เชื่อเถอะ ศักยภาพและทักษะที่ได้มาไม่เหมือนกันเลย

  • @panjung7970
    @panjung7970 Před rokem

    พี่หายไแไหนตอนนี้

  • @jnp.v1113
    @jnp.v1113 Před rokem

    ล่วยไม่ได้ ที่สังคมไทยเราปัจจุบันนี้นั้น ต่างก็ด่วนตัดสินผู้คนไปใน แว๊บแรก ความรู้สึกแรก กันอะไรแบบนั้นไปซะเยอะเลย

  • @soul1195
    @soul1195 Před 2 lety +5

    ทำไมต้องพูดว่าเด็กเรียนม.เอกชนคือเด็กที่สอบไม่ติดม.รัฐ เด็กบางคนไม่อยากเรียนม.รัฐก็มี ม.เอกชนมีอุปกรณ์พร้อมกว่า ม.รัฐก็ไม่ได้ดีไปหมดทุกอย่าง

    • @tooksapek2246
      @tooksapek2246 Před rokem +5

      เด็กบางคน...
      คำว่า"บางคน"ไม่ใช่ majority
      จริงที่เด็กบางคนเลือกเรียน ม.เอกชนเลย
      แต่ส่วนใหญ่เป็นอย่างนั้นหรือเปล่า ???

    • @Far-eastern2012
      @Far-eastern2012 Před rokem

      @@tooksapek2246ตอนผมจบม6 ไม่สอบ gat pat หรือข้อสอบอะไรเลย เพราะคิดมาแล้วว่าเรียนมอเอกชน (อินเตอร์) เรียนจบสมัครที่ไหนเขาเรียกสัมภาษณ์และได้งานที่สัมภาษณ์ ตอนนี้ทำงานบริษัทเอกชนข้ามชาติถือว่าเงินเดือนได้สูงนะสำหรับเด็กที่จบใหม่ แต่เพื่อนบางคนที่จบจากที่เดียวกันบางคนช่วยธุรกิจที่บ้าน บางคนไม่สามัครงานแล้วอยู่บ้านเฉยๆก็มี

    • @tooksapek2246
      @tooksapek2246 Před rokem

      @@Gianlugibuffon
      หนูต้องเรียน ม.เอกชนแน่เลย
      ถึงอ่านจับประเด็นไม่เข้าใจ 😁😁😁

    • @Gianlugibuffon
      @Gianlugibuffon Před rokem

      @@tooksapek2246 แล้วตรรกะมึงเกี่ยวไรกับเอกชนวะ อย่างหลอน 555555

  • @user-je1pv6hg2q
    @user-je1pv6hg2q Před rokem +1

    ประถมสาธิตมศวประสานมิตร มัธยมต้นสาธิตมศวปทุมวันมัธยมปลายเตรียมอุดมศึกษาปริญญาตรีคณะแพทย์ทันตแพทย์หรือวิศวกรรมศาสตร์จุฬา มหิดลธรรมศาสตร์ หรือมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ครับ

  • @natchaatitaya-ankura7165
    @natchaatitaya-ankura7165 Před 2 lety +5

    เรียน​ที่ไหนจะเหมือน​กันเมื่อคุณ​ผ่านสังคมการทำงาน​ 5 ปีขึ้นไป​ค่ะ

    • @fluksirawit9542
      @fluksirawit9542 Před rokem +2

      ก็เป็นไปได้ครับ ทุกคนพัฒนาได้ในสังคมหรือสิ่งแวดล้อมใหม่ แต่ระหว่าง5ปีความเสียหายจากการทำงานผิดพลาดเกิดขึ้นเท่าไหร่ ถ้าได้ทำในตำแหน่งสำคัญๆ

    • @000soulmate000
      @000soulmate000 Před rokem

      ใช่ค่ะ

  • @jobbynaka5354
    @jobbynaka5354 Před 2 lety +2

    เเล้วอาชีวะหละ ไทยยังต้องการบุคลากรอีกมากเลยนะ จบเเล้วค่อยไปต่อป.ตรี ป.โท ก็ยังได้ เเต่ผมก็บอกเลยว่าค่าเทอมอาชีวะไม่ได้ถูกๆเลย

  • @kaladasa6666
    @kaladasa6666 Před rokem +1

    เรียน ม รัฐ เพราะค่าเทอมล้วนๆเลย ต่างกันอย่างสุดขั้ว สมัยผมเรียนยังอยู่ในระบบ ค่าเทอมไม่ถึงหมื่น ตอนนี้ออกนอกระบบไปแล้วถามน้องๆที่จบมาค่าเทอมมากกว่าเดิม 3 เท่า

  • @chaiwatthongkhiew8688

    จบที่ไหนก็แค่เริ่มต้น ปัจจุบันสุดท้ายวัดกันที่ใครหาเงินได้มากกว่ากัน

  • @noppet45
    @noppet45 Před 11 měsíci

    Ep70 ไม่เหนมี

  • @aphawanhoraban6108
    @aphawanhoraban6108 Před 2 měsíci

    แล้วเด็กที่บ้านไม่มีเรียนโรงเรียนวัดพ่อแม่จนทำอย่างไร ต้นทุนคนไม่เหมือนกัน..

  • @whatTabouTyoU
    @whatTabouTyoU Před 2 lety +5

    มีเพื่อนจบ มธ. ตอนนี้ไม่ทำงาน อีโก้สูงจัดเข้ากับใครไม่ได้

    • @whatTabouTyoU
      @whatTabouTyoU Před rokem

      อะไร ตรงไหนมีความเหยียด ตีความยังไงครับ ?

    • @whatTabouTyoU
      @whatTabouTyoU Před rokem

      @rot คิดเองเออเอง เป็นเอามากนะ แค่บอกเล่าว่าเพื่อนเขาจบธรรมศาสตร์ แล้วเขาอีโก้สูง แล้วมันเหยียดตรงไหน? แล้วแต่จะคิดละกัน 😌😌

  • @ohnoy892
    @ohnoy892 Před 2 lety +1

    ขนาด มหาวิทยาลัยเดียวกัน แต่ละคณะสังคมก็ให้คุณค่าไม่เท่ากัน

  • @esdarkdeath
    @esdarkdeath Před 2 lety +6

    คุณภาพของสถานศึกษาก็มาจากคุณภาพของนักศึกษาที่จบมานั่นแหละ พวก HR เขาเก็บสถิติไว้หมด

  • @piboorsaklor1437
    @piboorsaklor1437 Před rokem

    มันอยู่ที่ไฝ่รู้​ ปัจจุบันโลกก้าวหน้าเร็วมาก​ เราต้องตามให้ทันต้องใช้ลูกขยันลูกเดียว​ รัฐสอนดีมีก้เยอะ​

  • @ampornmaiprasert2258
    @ampornmaiprasert2258 Před rokem +1

    ควรแก้ไขความรู้ของผู้สอน ควรมีการทดสอบองค์ความรู้ผู้สอน และผู้สอนควรที่จะต้องมีผลงานแสดงออกสู่สาธารณะชน 2 ปี 1 ผลงาน

  • @alohapete2249
    @alohapete2249 Před rokem

    เอาแค่เรื่องการตัดเกรดระหว่าง ม.ระดับ Top กับ ม.ระดับทั่วๆไป แบบทั่วๆไป ก็น่าจะตัดเกรดไม่เหมือนกันล่ะ

  • @145Real
    @145Real Před rokem

    โชคดีที่ไม่มีลูก

  • @hipponkofficial5831
    @hipponkofficial5831 Před rokem +1

    ต่างกันว่ะ เราจบ ku วิศวะ เพื่อนๆ ทุกคน ตอนนี้ไม่มีใคร ลำบาก เรื่องงานเลย

  • @Iccee43
    @Iccee43 Před rokem

    ธุรกิจการศึกษา

  • @ampornmaiprasert2258
    @ampornmaiprasert2258 Před rokem

    ควรแก้ไขความรู้ของผู้สอน ควรมีการทดสอบองค์ความรู้ผู้สอน และผู้สอนควรที่จะต้องมีผลงานแสดงออกสู่สาธารณะชน 2 ปี 1 ผลงาน จะได้วัดว่าตัวผู้สอนมีความรู้จริงหรือเปล่า ก่อนเอาไปสอนเด็ก

  • @christopherlam9715
    @christopherlam9715 Před rokem

    ไม่เหมือนหรอก มหาวิทยาลัยแต่ละแห่งข้อสอบยากไม่เท่ากัน คนแต่ละคนก็ต่างกัน
    ก็เหมือนบอกว่า แต่ละประเทศดีพอๆ กัน ไม่จริงหรอก แต่ปัญหาคือเก่งแล้วจะไปทะเลาะกับคนอื่นทำไมมากกว่า.

  • @surapatake2529
    @surapatake2529 Před rokem

    ถ้ามองแบบโลกสวยสุดๆ แบบไม่สนใจความเป็นจริงใดๆ ก็จะรู้สึกว่าเหมือนกันนั่นแหละ

  • @jloindytrade7712
    @jloindytrade7712 Před rokem

    ไม่เหมือนอยู่ที่ระบบและคนสอนความเขี่ยวเข็นของบุคลากรหรืออาจารย์สิ่งสำคัญสุดคือตัวผุ้เรียนเอง หลายคนจบออกมาทำไรไม่เป็นก็เห็นถมเถ