วิชาฟิสิกส์ ตอนที่ 25 (การสั่นพ้องของเสียง)

Sdílet
Vložit
  • čas přidán 18. 10. 2020
  • โดย อาจารย์.ดร.อัศวนนทปกรณ์ ธเนศวีรภัทร
    ภาควิชาหลักสูตรและการสอน สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    ออกอากาศทาง CU Radio FM 101.5 MHz วันที่ 19/10/2563
    สามารถดาวน์โหลดเอกสารประกอบการเรียนได้ที่
    curadio.chula.ac.th/Class-Ona...

Komentáře • 9

  • @baibua.a2354
    @baibua.a2354 Před 3 lety +2

    สอนดีมากค่าาา ขอบคุณค่ะ❤✌

  • @banthitachutanom5995
    @banthitachutanom5995 Před 3 lety

    ขอบคุณครับพี่

  • @kulnitany994
    @kulnitany994 Před 3 lety +2

    สอนเข้าใจมากเลยค่ะ แต่แบบฝึกข้อที่ 3 ได้ 17/8 = 2.125 m หรือป่าวคะ

  • @chayanansamerwong8552
    @chayanansamerwong8552 Před 8 měsíci

    การสั่นพ้องของเสียงเกิดขึ้นได้อย่างไรหรอครับ

  • @peenipat3978
    @peenipat3978 Před 3 lety +13

    21:42 โจทย์ ข้อ 2
    V=331+(0.6)(25)
    ได้ 346m/s ไม่ใช่เหรอครับ
    ถ้าจะได้ 340m/s
    ก็ต้องอุณหภูมิ 15 องศา

    • @lemoneyshark6009
      @lemoneyshark6009 Před 3 lety +1

      ใช่ครับ

    • @drnoncursedman7320
      @drnoncursedman7320 Před 3 lety +1

      ขออภัยด้วยนะครับ ปรับผลการคำนวณเป็น v = 346 m/s และ ได้ความถี่ f = 346/0.8 = 432.5 Hz ครับ

  • @user-qw6is5se3h
    @user-qw6is5se3h Před 3 lety

    โอเวอโทนกับฮามอนิค ต่างกันยังไงครับ

    • @drnoncursedman7320
      @drnoncursedman7320 Před 3 lety +6

      โอเวอร์โทน คือ ลำดับความถี่เสียงที่ทำให้เกิดการสั่นพ้องที่ถัดจากความถี่มูลฐาน ส่วนฮาโมนิกคือ เลขบอกจำนวนเท่าของความถี่นั้นเทียบความถี่มูลฐาน เช่น ท่อเปิดความถี่เสียงที่ทำให้เกิดการสั่นพ้อง เท่ากับ f 2f 3f.... เราเรียกความถี่ f นี้ว่า ความถี่มูลฐาน ความถี่ 2f เรียกว่าโอเวอร์โทนที่ 1 (ถัดจาก f มา 1 ลำดับ) และมีฮาโมนิกที่ 2(เพราะความถี่เป็น 2 เท่าของ f)
      ส่วนท่อปลายปิด ความถี่เรียงเป็น f 3f 5f ความถี่ 3f เรียกว่าโอเวอร์โทนที่ 1 (ถัดจากความถี่ f มา 1 ลำดับ) และมีฮาโมนิกที่ 3(เพราะความถี่เป็น 3 เท่าของ f ครับ)