การลอดอุโมงค์ทางควอนตัม (Quantum Tunnelling) ที่มากกว่าการทะลุกำแพง: เจาะมุมมองมิติควอนตัม EP. 18

Sdílet
Vložit
  • čas přidán 20. 08. 2024

Komentáře • 23

  • @veerasakudomchoke672
    @veerasakudomchoke672 Před 3 měsíci +1

    ยอดมากครับขอชมเชยจริงๆๆๆอยากรู้จักว่าเรียนทางฟิสิกส์ควอนตัมแต่เรียนเอกทางวิศวกรรมธรณีสอนวิชาทางนี้มามีหนังสือของด้าน Quantum by Davidof (Russia)เป็นอังกฤษขจะมอบให้ครับ

  • @siwagornkidkarn203
    @siwagornkidkarn203 Před 7 měsíci

    กำแพงพลังงานของ STM อยู่ตรงไหนครับ

  • @JohnConnor-_o
    @JohnConnor-_o Před 9 měsíci +3

    อยากดูการพัวพันเชิงควอนตัมด้วยครับ

    • @onetomanysci
      @onetomanysci  Před 9 měsíci +1

      เคยทำเมื่อ ปีที่แล้ว ครับ ตาม link เลยมี 5 ตอน จุใจไปเลย
      1. รางวัลโนเบล ฟิสิกส์ ปี 2022 part 1:กลศาสตร์ควอนตัม-การตีความแบบโคเปนเฮเกน | Einstein's light box
      czcams.com/video/X_kUECG4_pM/video.html
      .
      2. รางวัลโนเบล ฟิสิกส์ ปี 2022 part 2: EPR paradox, Quantum Entanglement
      czcams.com/video/IO7r0nzawZA/video.html
      .
      3. รางวัลโนเบล ฟิสิกส์ ปี 2022 part 3: หลักการทดสอบความเป็นจริงเหนือจิตสำนึก (Bell's Inequality)
      czcams.com/video/tCLww0234AQ/video.html
      .
      4. รางวัลโนเบล ฟิสิกส์ ปี 2022 Part 4: การพัวพันระดับจักรวาล (Cosmic Bell Test)
      czcams.com/video/C_00yd27sE4/video.html
      .
      5. รางวัลโนเบล ฟิสิกส์ ปี 2022 Part 5: การเคลื่อนย้ายเชิงควอนตัม (Quantum Teleportation)
      czcams.com/video/XFepwlre4-k/video.html

  • @siwagornkidkarn203
    @siwagornkidkarn203 Před 9 měsíci +1

    กล้องจุลทรรศน์แบบลอดอุโมงค์ควอนตัม เป็นการลอดอุโมงค์ควอนตัมแบบไม่ต้องใช้กำแพงพลังงานเลยหรอครับ เป็นการลอดอุโมงค์ผ่านสุญญากาศอย่างเดียวเลยหรอครับ ไม่ใช้กำแพงพลังงานเลยหรอ

    • @onetomanysci
      @onetomanysci  Před 9 měsíci +1

      ก็มีกำแพงพลังงาน ครับ แต่ไม่ลงรายละเอียด เดี๋ยวจะตีกับแบบอื่นๆ ครับ

  • @ShinaprideLucania
    @ShinaprideLucania Před 9 měsíci +1

    คือแบบ

    • @onetomanysci
      @onetomanysci  Před 9 měsíci

      แบบนี้ ถึงจะเรียกว่า ถูกต้อง

  • @nopponw2525
    @nopponw2525 Před 9 měsíci +1

    แล้วเราอธิบายได้มั้ยครับว่า มันเกิดอุโมงค์ได้ยังไง ในเมื่อพลังมันน้อยกว่ากำแพงศักย์ หรือยังอธิบายไม่ได้แต่คำนวนได้

    • @OUOU46
      @OUOU46 Před 9 měsíci

      คำตอบ มันคือควอมตั้ม😅

    • @onetomanysci
      @onetomanysci  Před 9 měsíci

      ตามในคลิปที่ บอกว่า อนุภาคสามารถประพฤติตัวเป็นคลื่นได้ จึงมีการส่งผ่านได้

    • @user-zc8fl6ds7k
      @user-zc8fl6ds7k Před 9 měsíci

      สรุปว่ามันเป็นทั้ง 2 อย่าง

  • @eddyvanvan4253
    @eddyvanvan4253 Před 9 měsíci +4

    อยากทราบความก้าวหน้าอะครับ ว่ามีใครสามารถทำให้ อิเล็กตรอนไม่ทะลุไปอีกฝั่งได้ ผมดูของคนไทยถามไปก็ไม่มีคนตอบ ดูของฝรั่งก็ อธิบายเหมือนคุณ แต่ไม่มีคำตอบของการพัฒนา ยาวหน่อยนะครับ เรื่องมันมีอยู่ว่า
    ในปี2000 ถ้าจำไม่ผิดนะครับ เป็นครั้งแรกที่บ.Intelสามารถลดกระบวนการผลิตชิพ ได้ต่ำกว่า100 นาโนเมตรเป็นครั้งแรก แต่ก็มีวิศวกรออกมาบอกว่า วิธีการนี้มีจุดบกพร่องที่ ไม่อาจลดลงจนเล็กอะตอมได้ เพราะจะทำให้เกิดปรากฏการณ์ อุโมงค์วอนตั้มเกิดขึ้น อิเล็กตรอนทะลุผ่านเกตฉนวนไฟฟ้าข้ามไปอีกฝั่ง ทำให้คอมพิวเตอร์ คำนวณผิดพลาด ผ่านมากว่า 23ปี ไม่รู้ว่าแก้ปัญหานี้ได้ไหม ปัจจุบันบ.Intel มีการเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง โดยการนำ หน่วยประมวลผลAIเข้ามาอยู่ในCPUของตนเอง และมีแผนงานออกมาแล้วว่าจะผลิตชิพ ในระดับ อังสตอม 1ยกกำลัง-10 มันเล็กกว่าอะตอม และผนังกันในวงจรชิพก็อยู่ใกล้กันมาก จนต้องเกิดปรากฎการณ์ อุโมงควอนตั้มแน่ๆ
    ซึ่งIntelก็ไม่ได้โชว์เครื่องที่ผลิตได้ มีเพียงแผนงานเท่านั้น จึงสงสัยว่า เล็กกว่าอะตอมแล้วจะทำได้หรือ ไปคอมเม้นท์ถามไว้หลายช่องไม่มีช่องไหนตอบ ช่องนี้ก็อาจจะเหมือนกัน😮😮

    • @MURDDD
      @MURDDD Před 9 měsíci +1

      ขอบคุณสำหรับคำถาม

    • @onetomanysci
      @onetomanysci  Před 9 měsíci +2

      -ในการทำชิพให้มีขนาดเล็กลงอาจได้เป็นการเร่งรีบขนาดนั้น แต่ในปัจจุบันเน้นการคำนวณประมวลผลให้เร็วขึ้นพร้อมกับต้นทุนในการผลิตที่ถูกลงที่สามารถหาข้อมูลได้ตามงานวิจัย
      ตามตัวอย่างบทความที่ลงในวันนี้ (06/11/2023)
      การตรวจสอบหน่วยความจำหลายระดับแบบออปติคัลจากควอนตัมดอท
      -โดยงานวิจัยนี้ใช้ ควอนตัมดอท กับ วัสดุ 2 มิติ และแสง ในการสร้างกำแพงศักย์เพื่อกักกระแสไว้
      .
      -ถึงจะมีการวิจัยทำชิพให้เล็กลงก็เป็นความรู้ที่ทางธุรกิจเขาไม่เปิดเผยกัน ครับ แม้แต่หลักการหลักๆ ก็ยังไม่มีการพูดถึงเลย ครับ

    • @eddyvanvan4253
      @eddyvanvan4253 Před 9 měsíci +1

      @@onetomanysci ขอบคุณที่มาตอบครับ ผมสงสัยมานานแล้ว แต่งานวิจัยที่มีรายงานมาเรื่อยไปทุกปี มันแสดงถึงความก้าวหน้าของเศรษฐกิจ ที่ยังมีเงินหมุนเวียน การที่จะปกปิดเทคโนโลยีเอาไว้ทำกำไลในทางธุรกิจก็ส่วนนึง แต่ขึ้นชื่อนักวิทยาศาสตร์ ผมว่าเขาต้องอยากได้ รางวัลโนเบลแน่ๆ ดังคำกล่าว การค้นพบครั้งยิ่งใหญ่ มักจะมาจาก คนแค่คนเดียว แต่การต่อยอดนั้นต้องใช้คนหลายคน และการค้นพบที่ยิ่งใหญ่ที่ว่าตลอดหลายปีที่ผ่านมา มีเพียงแค่ กราฟีน อะตอมเดียว แค่นั้นเองที่ขยายการใช้งานในวงกว้างขึ้นเรื่อยๆ ส่วนควอนตั้มดอท ถ้ากักกระแสไฟฟ้าได้ คงต้องใช้พลังงานมาก คงไม่เหมาะ นึกไม่ออกจะใช้กันอีท่าไหนเลย แต่ก็ขอบคุณครับที่มาตอบ 🥰🥰🥰🥰🥰🥰🥰

    • @master6hifi893
      @master6hifi893 Před 9 měsíci

      ให้นายไปเรียน วิศวะโทรคมนาคม แล้วไปต่อโท physics ด้าน solid state electronics นายจะเข้าใจ

  • @user-vg4pn1wq7x
    @user-vg4pn1wq7x Před 4 měsíci

    ทุกสิ่งมีมวล จิตมีมวล พลังจิต วิเคราะห์ แยกแยะ แยกธาตุ

  • @poonim-pc5ly
    @poonim-pc5ly Před 9 měsíci

    👍👍❤️❤️

  • @LidDDLid
    @LidDDLid Před 8 měsíci

    มันสมองบางส่วน ไม่สามารถ เข้าใจ มั้งที่เป็น ใันสมองของมนุษย์เหมือนๆกัน

  • @Deep_Dark_Dimension
    @Deep_Dark_Dimension Před 9 měsíci +1

    งี้นี่เองผีถึงลอยทะลุกำแพงได้

  • @Dodo-ze
    @Dodo-ze Před 9 měsíci

    น้ำวู่ผมพุ่งทะลุกำแพง

  • @noppadonkerddonfag5537
    @noppadonkerddonfag5537 Před 9 měsíci

    ใช่เทคนิค AFM ป่าวครับ