ด้านมืด! พระเจ้าตากสินมหาราช (ที่คุณอาจไม่รู้ ?)

Sdílet
Vložit
  • čas přidán 8. 08. 2024
  • ก่อนอื่นต้องขออภัยหากเรื่องที่จะเล่าต่อไปนี้ ทำให้หลายท่านไม่พอใจ แต่ก็อยากให้รู้ว่าผมไม่ได้มีเจตนาลบหลู่ ดูหมิ่น เกียรติของพระองค์ เพียงแต่ต้องการนำเสนอ ในแง่มุมทางประวัติศาสตร์ ให้เป็นกรณีศึกษาแค่นั้นเอง ซึ่งจากที่มองประวัติศาสตร์มา เห็นตัวอย่างมากมาย เอาจริงๆก็ “ไม่มีใครที่มีด้านเดียว”
    -----------------------------------------
    ช่องทางอื่นๆ
    facebook - web.facebook.c...
    .
    Tiktok - web.facebook.c...
    .
    Email - the.background.for.work@gmail.com
    ------------------------------------------
    ข้อมูลอ้างอิง
    หนังสือ
    กรมตำรากระทรวงธรรมการ. พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี แผ่นดินสมเด็จพระบรมราชาที่ 4 (พระเจ้าตากสิน) จุลศักราช 1128-1144. พิมพ์ครั้งที่ 4. --พระนคร : กรมตำรากระทรวงพระธรรมการ, 2472.
    พระราชวิจารณ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว “เรื่องจดหมายความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี”. สำนักพิมพ์: ไทยควอลิตี้บุ๊คส์. 2561.
    กรมศิลปากร. (2548). พงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 10. นครปฐม : นครปฐมการพิมพ์.
    พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา (ภาคจบ). (2505), พระนคร : โอเดียนสโตร์.
    “พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม),” (2542). ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.
    “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม),” (2542). ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 3. กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.
    “พระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน,” (2542). ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 2. กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.
    สมเด็จพระพนรัตน (แก้ว). (2550). พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ภาษามคธแลคำแปล กับ จุลยุทธการวงศ์ ผูก 2 เรื่อง พงศาวดารไทย. กรุงเทพฯ : ต้นฉบับ.
    ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. (2543). ไทยรบพม่า. กรุงเทพฯ : เจริญรัตน์การพิมพ์.
    นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2550). การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี. กรุงเทพฯ : มติชน.
    ปรามินทร์ เครือทอง. พระเจ้าตากเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: มติชน. 2557.
    สุดารา สุจฉายา. (2550). ประวัติศาสตร์สมัยธนบุรี. กรุงเทพฯ : สารคดี.
    กรรณิการ์ สุธีรัตนาภิรมย์ (2555). กรุงธนบุรี ในสมัยอยุธยาถึงต้นรัตรโกสินทร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ ภาควิชาโบราณคดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
    บทความ
    ปรามินทร์ เครือทอง. บทความ “ตามติดปฏิบัติการ พระเจ้าตาก “ตามล่า” รัชทายาทกรุงศรีอยุธยา” ศิลปวัฒนธรรม ฉบับมีนาคม 2558.
    ณัฏฐภัทร จันทวิช. (2523 ก). “ข้อเท็จจริงบางประการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์สมัยอยุธยาตอนปลายและกรุงธนบุรีจากจดหมายเหตุจีน,” ใน ศิลปากร. ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม.
    นิธิ เอียวศรีวงศ์ (2550). กรุงแตก, พระเจ้าตากฯ และประวัติศาสตร์ไทย. ศิลปวัฒนธรรม.
    -----------------------------------------------------
    #พระเจ้าตากสิน #history #ประวัติศาสตร์ #พระเจ้าตาก

Komentáře •