CAB KU Channel
CAB KU Channel
  • 135
  • 5 848 868
เรื่องดิน: ขออย่าคิดเหมือนเดิม Soil: let's think beyond
บรรยายพิเศษ เรื่อง "เรื่องดิน: ขออย่าคิดเหมือนเดิม"
Soil: let's think beyond
โดย ศ.ดร. สุนทรี ยิ่งชัชวาลย์ นักวิจัยอาวุโส
ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บรรยายในงานประชุมวิชาการดินและปุ๋ยแห่งชาติ ครั้งที่ 8
วันพฤหัสบดีที่ 11 กรกฎาคม 2567 เวลา 14.00-15.00 น.
ณ อาคารศูนย์แสดงนิทรรศการและการจัดประชุมนานาชาติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
จัดโดย คณะเกษตรศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร ร่วมกับ สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
zhlédnutí: 30 078

Video

การศึกษาความสัมพันธ์เชื่อมโยงในจีโนมเพื่อพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุล
zhlédnutí 252Před měsícem
บรรยายโดย ดร. ภูมิพัฒน์ ทองอยู่ อาจารย์ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วีดีทัศน์นี้ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ ศูนย์กลางความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกษตรสมัยใหม่สำหรับผลผลิตการเกษตรมูลค่าสูง (Hub of Knowledge in Modern Agricultural Science for AG-Premium Produce) ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณดำเนินกิจกรรมจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2566
การศึกษาความหลากหลายของจุลินทรีย์ ด้วยเทคนิคเมตาจีโนมิกส์ (Metagenomics)
zhlédnutí 494Před 3 měsíci
จัดทำโดย ผศ.ดร. จุฑาเทพ วัชระไชยคุปต์ อาจารย์ ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วีดีทัศน์นี้ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ ศูนย์กลางความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกษตรสมัยใหม่สำหรับผลผลิตการเกษตรมูลค่าสูง (Hub of Knowledge in Modern Agricultural Science for AG-Premium Produce) ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณดำเนินกิจกรรมจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2566
การตรวจวัดฟีโนไทป์ของพืช ด้วยเทคนิคการวัดการสังเคราะห์แสง และอัตราแลกเปลี่ยนแก๊ส
zhlédnutí 318Před 4 měsíci
บรรยายโดย ดร.วีรศิลป์ สอนจรูญ อาจารย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วีดีทัศน์นี้ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ ศูนย์กลางความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกษตรสมัยใหม่สำหรับผลผลิตการเกษตรมูลค่าสูง (Hub of Knowledge in Modern Agricultural Science for AG-Premium Produce) ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณดำเนินกิจกรรมจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2566
การตรวจวัดฟีโนไทป์ของพืช ด้วยเทคนิคการวัดคลอโรฟิลล์ฟลูออเรสเซนซ์ (chlorophyll fluorescence analysis)
zhlédnutí 352Před 4 měsíci
บรรยายโดย ดร.วีรศิลป์ สอนจรูญ อาจารย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วีดีทัศน์นี้ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการศูนย์กลางความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกษตรสมัยใหม่สำหรับผลผลิตการเกษตรมูลค่าสูง (Hub of Knowledge in Modern Agricultural Science for AG-Premium Produce) ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณดำเนินกิจกรรมจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2566
Diagnostics and phytosanitary management of cassava germplasm health ...
zhlédnutí 470Před 6 měsíci
Diagnostics and phytosanitary management of cassava germplasm health and facilitating the safe germplasm distribution for the development of disease-resistant varieties : a case study on cassava germplasm movement from Africa to Asia By Dr. Lava Kumar, IITA วีดีทัศน์นี้เป็นส่วนหนึ่งของ กิจกรรม การจัดประชุมผู้เชี่ยวชาญมันสำปะหลังระดับนานาชาติ เพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิตมันสำปะหลังของประเทศไทย โครงก...
Key Practices and Approaches in the Delivery of High-Quality Cassava Seed
zhlédnutí 256Před 6 měsíci
Key Practices and Approaches in the Delivery of High-Quality Cassava Seed By Dr. James Peter Legg, IITA วีดีทัศน์นี้เป็นส่วนหนึ่งของ กิจกรรม การจัดประชุมผู้เชี่ยวชาญมันสำปะหลังระดับนานาชาติ เพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิตมันสำปะหลังของประเทศไทย โครงการ ศูนย์กลางความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกษตรสมัยใหม่สำหรับผลผลิตการเกษตรมูลค่าสูง (Hub of Knowledge in Modern Agricultural Science for High-Value Crops) ภายใต้...
CAB KU สวัสดีปีใหม่ 2567
zhlédnutí 161Před 7 měsíci
CAB KU สวัสดีปีใหม่ 2567
มังคุด ทุเรียน สมบูรณ์แข็งแรงได้ ด้วย 4 สิ่งนี้
zhlédnutí 19KPřed 7 měsíci
วีดีทัศน์นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ เพื่อยกระดับผลผลิตมังคุด ทุเรียนคุณภาพในเขตภาคใต้” ครั้งที่ 1 ในวันที่ 21-22 กันยายน 2566 ณ อ.คุระบุรี จ.พังงา และ ครั้งที่ 2 ในวันที่ 15-16 พฤศจิกายน 2566 ณ อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช โครงการศูนย์กลางความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกษตรสมัยใหม่สำหรับผลผลิตการเกษตรมูลค่าสูง (Hub of Knowledge in Modern Agricultural Science for AG-Premium Produce) ภายใต้การส...
โรคใบจุดมังคุด
zhlédnutí 1,6KPřed 7 měsíci
ชุดวีดีทัศน์ โรคพืชในทุเรียน มังคุด และการป้องกัน ตอนที่ 7 (ตอนสุดท้าย) โรคใบจุดมังคุด วีดีทัศน์นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ เพื่อยกระดับผลผลิตมังคุด ทุเรียนคุณภาพในเขตภาคใต้” ครั้งที่ 1 ในวันที่ 21-22 กันยายน 2566 ณ อ.คุระบุรี จ.พังงา และ ครั้งที่ 2 ในวันที่ 15-16 พฤศจิกายน 2566 ณ อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช ภายใต้โครงการศูนย์กลางความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกษตรสมัยใหม่สำหรับผลผลิตการเกษตร...
วิธีการตรวจเชื้อไฟทอปธอรา (Phytophthora) เบื้องต้น
zhlédnutí 3,2KPřed 7 měsíci
ชุดวีดีทัศน์ โรคพืชในทุเรียน มังคุด และการป้องกัน ตอนที่ 6 วิธีการตรวจเชื้อไฟทอปธอรา (Phytophthora) เบื้องต้น วีดีทัศน์นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ เพื่อยกระดับผลผลิตมังคุด ทุเรียนคุณภาพในเขตภาคใต้” ครั้งที่ 2 ในวันที่ 15-16 พฤศจิกายน 2566 ณ อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช ภายใต้โครงการศูนย์กลางความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกษตรสมัยใหม่สำหรับผลผลิตการเกษตรมูลค่าสูง (Hub of Knowledge in Modern Agr...
การป้องกันกำจัดฟิวซาเรียม
zhlédnutí 5KPřed 7 měsíci
ชุดวีดีทัศน์ โรคพืชในทุเรียน มังคุด และการป้องกัน ตอนที่ 5 การป้องกันกำจัดเชื้อราฟิวซาเรียม (Fusarium) วีดีทัศน์นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ เพื่อยกระดับผลผลิตมังคุด ทุเรียนคุณภาพในเขตภาคใต้” ครั้งที่ 2 ในวันที่ 15-16 พฤศจิกายน 2566 ณ อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช ภายใต้โครงการศูนย์กลางความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกษตรสมัยใหม่สำหรับผลผลิตการเกษตรมูลค่าสูง (Hub of Knowledge in Modern Agricultur...
รู้จักเชื้อรา ฟิวซาเรียม (Fusarium)
zhlédnutí 8KPřed 7 měsíci
ชุดวีดีทัศน์ โรคพืชในทุเรียน มังคุด และการป้องกัน ตอนที่ 4 รู้จักเชื้อรา ฟิวซาเรียม (Fusarium) วีดีทัศน์นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ เพื่อยกระดับผลผลิตมังคุด ทุเรียนคุณภาพในเขตภาคใต้” ครั้งที่ 2 ในวันที่ 15-16 พฤศจิกายน 2566 ณ อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช ภายใต้โครงการศูนย์กลางความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกษตรสมัยใหม่สำหรับผลผลิตการเกษตรมูลค่าสูง (Hub of Knowledge in Modern Agricultural Scien...
การจัดการโรค รากเน่า โคนเน่า : ไฟทอปธอรา (Phytophthora)
zhlédnutí 11KPřed 7 měsíci
ชุดวีดีทัศน์ โรคพืชในทุเรียน มังคุด และการป้องกัน ตอนที่ 3 การจัดการโรค รากเน่าโคนเน่า (Phytophthora) วีดีทัศน์นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ เพื่อยกระดับผลผลิตมังคุด ทุเรียนคุณภาพในเขตภาคใต้” ครั้งที่ 2 ในวันที่ 15-16 พฤศจิกายน 2566 ณ อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช ภายใต้โครงการศูนย์กลางความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกษตรสมัยใหม่สำหรับผลผลิตการเกษตรมูลค่าสูง (Hub of Knowledge in Modern Agricultura...
รู้จักโรค รากเน่า โคนเน่า : ไฟทอปธอรา (Phytophthora)
zhlédnutí 5KPřed 7 měsíci
ชุดวีดีทัศน์ โรคพืชในทุเรียน มังคุด และการป้องกัน ตอนที่ 2 รู้จักโรค รากเน่า โคนเน่า : ไฟทอปธอรา (Phytophthora) วีดีทัศน์นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ เพื่อยกระดับผลผลิตมังคุด ทุเรียนคุณภาพในเขตภาคใต้” ครั้งที่ 2 ในวันที่ 15-16 พฤศจิกายน 2566 ณ อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช ภายใต้โครงการศูนย์กลางความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เกษตรสมัยใหม่สำหรับผลผลิตการเกษตรมูลค่าสูง (Hub of Knowledge in Modern A...
รู้จักโรคพืช
zhlédnutí 3,8KPřed 7 měsíci
รู้จักโรคพืช
ยาร้อน ยาเย็น และการผสมสาร
zhlédnutí 14KPřed 8 měsíci
ยาร้อน ยาเย็น และการผสมสาร
แมลงดื้อยา
zhlédnutí 1,5KPřed 8 měsíci
แมลงดื้อยา
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี สารชีวภัณฑ์
zhlédnutí 1,8KPřed 8 měsíci
ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี สารชีวภัณฑ์
รู้จักเทคโนโลยีใหม่ และสภาพแวดล้อมในการพ่นสาร
zhlédnutí 1,7KPřed 8 měsíci
รู้จักเทคโนโลยีใหม่ และสภาพแวดล้อมในการพ่นสาร
รู้จักแมลงศัตรูไม้ผล : ด้วง และแมลงอื่นๆ
zhlédnutí 3,2KPřed 8 měsíci
รู้จักแมลงศัตรูไม้ผล : ด้วง และแมลงอื่นๆ
รู้จักแมลงศัตรูไม้ผล : หนอนเจาะผล หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน
zhlédnutí 3,5KPřed 8 měsíci
รู้จักแมลงศัตรูไม้ผล : หนอนเจาะผล หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน
รู้จักแมลงศัตรูไม้ผล : เพลี้ย
zhlédnutí 12KPřed 8 měsíci
รู้จักแมลงศัตรูไม้ผล : เพลี้ย
การจัดการศัตรูพืช ....สารเคมี คือ สิ่งสุดท้าย...
zhlédnutí 3,5KPřed 8 měsíci
การจัดการศัตรูพืช ....สารเคมี คือ สิ่งสุดท้าย...
สูตรและอัตราปุ๋ยยางพารา
zhlédnutí 57KPřed 9 měsíci
สูตรและอัตราปุ๋ยยางพารา
บอกเล่าความรู้สึก หลังฝึกอบรม ปาล์มน้ำมัน จ.ตรัง
zhlédnutí 1,2KPřed 9 měsíci
บอกเล่าความรู้สึก หลังฝึกอบรม ปาล์มน้ำมัน จ.ตรัง
เทคนิคการเพิ่มผลผลิตปาล์มน้ำมัน
zhlédnutí 10KPřed 9 měsíci
เทคนิคการเพิ่มผลผลิตปาล์มน้ำมัน
รู้จัก รู้ใจ รู้ธรรมชาติของปาล์มน้ำมัน
zhlédnutí 6KPřed 9 měsíci
รู้จัก รู้ใจ รู้ธรรมชาติของปาล์มน้ำมัน
แนะนำการอบรมปาล์มน้ำมัน
zhlédnutí 862Před 9 měsíci
แนะนำการอบรมปาล์มน้ำมัน
ปาล์มน้ำมัน ตอนที่ 6 : สรุปสูตรและอัตราปุ๋ยปาล์มน้ำมัน
zhlédnutí 11KPřed 9 měsíci
ปาล์มน้ำมัน ตอนที่ 6 : สรุปสูตรและอัตราปุ๋ยปาล์มน้ำมัน

Komentáře

  • @pornchaichoophol7139
    @pornchaichoophol7139 Před 18 hodinami

    ขอบคุณครับอาจารย์ ผมค่อยๆทำไปครับ

  • @user-qo5cv2nn4r
    @user-qo5cv2nn4r Před 19 hodinami

    มีคนใช้จ้า😂😂😂

  • @user-ul8mq1cs6o
    @user-ul8mq1cs6o Před dnem

    ขอบคุณครับอาจารย์ที่บรรยายให้เห็นความเป็นจิงๆ ในธรรมชาติ แบบไม่แยกสรรพสิ่ง

  • @user-ww3rx9mo6v
    @user-ww3rx9mo6v Před 2 dny

    ขอบคุณครับ อาจารย์

  • @user-pm1ps5fq3g
    @user-pm1ps5fq3g Před 2 dny

    ครั้งเเรกใส่46-0-0 รับรวงควรใส่สูตรไหนดี ข้าวหอมมะลินาดินทราย

  • @piboonsangsuk3308
    @piboonsangsuk3308 Před 2 dny

    พูดแบบสายมู เลย สรุปง่ายๆ ไม่ดีกว่าหรือเจ๊

  • @BmShop-kd7gw
    @BmShop-kd7gw Před 2 dny

    ขอบคุณมากครับ ผมชอบจุลินทรีย์เทียบวิชาเคมีของอ.แล้วเข้าใจเรื่องแร่ธาตุมากขึ้นครับ

  • @user-gw9kc9jb9f
    @user-gw9kc9jb9f Před 2 dny

    ผมฟังทั้งอาจารย์สุนทรีย์และอาจารย์สุมิตราผมเชื่อทั้งสองทา่นขึ้นอยู่กับวา่เรากำลังทำอะไรแต่ละเรื่องฟังเป็น10ครั้งครับ

    • @user-ul8mq1cs6o
      @user-ul8mq1cs6o Před dnem

      ผมเปนเกษตรการบ้านๆ ได้ฟังการบรรยายของอาจารย์ ฟังมาเกิน10ครั้ง ได้ความเข้าใจที่ชัดเจนมากๆ แม้จะมีศัพท์ทางเทคนิคเฉพาะ ก็ยังเข้าใจง่าย ขอบคุณครับ

  • @sertpayom1895
    @sertpayom1895 Před 3 dny

    ทางมะพร้าว ได้ไหม

  • @sertpayom1895
    @sertpayom1895 Před 3 dny

    ทะลายปาล์ม ได้ไหมอาจารย์

  • @Nengooo0
    @Nengooo0 Před 3 dny

  • @user-de4cc5rq3y
    @user-de4cc5rq3y Před 3 dny

    😅

  • @SuRin-ko8pj
    @SuRin-ko8pj Před 3 dny

    สุดยอดครับอาจารย์ ขอให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงเด้อครับ

  • @mankmutt8834
    @mankmutt8834 Před 5 dny

    ผมติดตามอาจารย์ตลอด ขอบคุณความรู้ดีๆครับ

  • @fdchann..4272
    @fdchann..4272 Před 5 dny

    ผมตัดแต่งกิ่งกะโดงมังคุด 2ปีกว่าจะได้ผล พอได้ผลเก็บผลได้ต่ำมาก 2.5เมตร😂

  • @user-ki4oc1jb1t
    @user-ki4oc1jb1t Před 6 dny

    อาจารย์สอบถามค่ะ ใส่ปุ๋ยคอกขี้วัวใช้ 20-8-20ได้ไหมค่ะและฉีดปุ๋ยทางใบได้ไหม ฉีดก่อนหรือหลังปุ๋ยเม็ด

  • @user-jv6cn4lu4u
    @user-jv6cn4lu4u Před 6 dny

    ก็ชาวนาส่วนใหญ่จบแค่ป4ป6ถ้าจบสูงสูงเขาคงไม่มาทำนาหรอกครับส่วนใหญ่นิสัยคนไทยอีโก้สูง

  • @suntareeyingjajaval6739

    ดินประเทศไทยเกือบทั้งประเทศมีค่า pH เป็นกรด มีบางพื้นที่ที่ดินเกิดจากภูเขาหินปูน เช่นภาคตะวันตกแถบเมืองกาญจนบุรี ดินแถวปากช่อง ตาคลี อุตรดิตถ์ กระบี่ ดินริมแม่น้ำที่น้ำไหลผ่านมาจากภูเขาหินปูนจะมีค่า pH ใกล้เป็นกลางได้ด้วย อีกบริเวณที่ดินมีค่า pH สูงคือดินเค็ม ดินที่มีเกลือโซเดียมสูง ดินที่มีค่า pH ต่ำ(เป็นกรดมาก) จึงเกิดจากดินมี แคลเซียม/แมกนีเซียม/โพแทสเซียม/โซเดียม ตัวใดตัวหนึ่งหรือหลายตัวรวมกันในปริมาณน้อย ส่วนดินที่มี pH สูง อาจมีต้นกำเนิดจากหินปูนที่มีแคลเซียมมาก แต่ยังขาดแมกนีเซียมและโพแทสเซียม ทำให้ต้องใส่ทั้งสองธาตุเพิ่มแม้ค่า pH จะสูงอยู่แล้ว ถ้าไม่เคยวัดค่า pH ของดินในแปลงเกษตรเลย ก็แนะนำให้วัด จะได้รู้ว่าขาดธาตุอาหารแคลเซียม/แมกนีเซียม/โพแทสเซียม รุนแรงเพียงใด ในแนวทางของเรา เราไม่ได้ใช้ค่า pH ดินเป็นตัวกำหนดการใส่ธาตุ 3 ชนิดข้างต้น เราใส่ธาตุอาหารตามความต้องการใช้ของพืช เรามองโดโลไมท์/ปูน และธาตุอาหารอื่นเป็นปุ๋ยที่ต้องใส่เหมือนที่ใส่ NPK ให้ใส่ในปริมาณเท่าที่พืชต้องการใช้ เหมือน NPK โดยไม่จำเป็นต้องใส่เพิ่มเติมเพื่อปรับเพิ่ม pH เพราะอย่างที่อธิบายในการพูดครั้งนี้ ที่ว่าการดูดใช้ธาตุอาหารของรากผ่านกระบวนการทางชีวภาพ ไม่ต้องรอให้ธาตุอาหารละลายออกมาในน้ำที่ขึ้นกับค่า pH ของสารละลายดิน หรือเท่ากับกล่าวว่า ถ้าคิดว่ากระบวนการในดินเป็นกระบวนการเชิงเคมีล้วนๆ เราก็ทำตามคำอธิบายเรื่องการจัดการธาตุอาหารในดินแบบที่ทางปฐพียึดถือตลอดมา แต่ถ้าเราปรับความคิดว่า กระบวนการในดินเป็นการที่รากได้ธาตุอาหารผ่านกระบวนการชีวภาพ เราก็ไม่ใช้วิธีทางเคมี คือไม่จำเป็นต้องใส่ปูนเพิ่มเพื่อปรับค่า pH แต่ใส่ปูนในฐานะเป็นปุ๋ยที่ต้องให้ในปริมาณตามความต้องการของพืช

    • @AKLM24
      @AKLM24 Před 4 dny

      Thank you ❤❤

    • @burinruantip145
      @burinruantip145 Před 4 dny

      ขอบคุณมากครับอาจทรย์

    • @AJ-ev6pt
      @AJ-ev6pt Před 4 dny

      ขอบพระคุณอาจารย์ ที่ให้ความรู้ เรื่องดิน ผมนำไปใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในสวนทุเรียน ของผม เวลานี้รอดูผลการปฏิบัติ ครับ

  • @mr.ritathailand1817

    ตกลงเราต้องวัดค่า pH ดินหรือไม่ ต้องปรับให้กลางมั้ย เกษตรกรกำลังสับสนครับ แล้วโดโลไมท์ต้องใส่มั้ย

  • @user-zw3js2bv6n
    @user-zw3js2bv6n Před 6 dny

    ยิ่งฟังยิ่งงง ตามไม่ทัน พูดเรื่องน้ำอยู่ๆลากผมไปคิดเรื่องรายรับรายจ่าย😂

  • @agriculturebytimmie8991

    สามารถศึกษางานวิชาการ ของท่านอาจารย์สุนทรีย์ ยิ่งชัชวาลย์ได้จากช่องทางใดได้บ้างครับ เนื้อหาน่าศึกษามากครับ

  • @MrAttamas
    @MrAttamas Před 7 dny

    อาจารย์ประมวลองค์ความรู้ มาถ่ายทอดได้งดงาม ยอดเยี่ยมมากครับ

  • @pakunch7882
    @pakunch7882 Před 7 dny

    ยอดเยี่ยมครับ ❤🙏🏿

  • @user-hp7qq4if4i
    @user-hp7qq4if4i Před 7 dny

    ผมมาแล้วติดต่อกันมา 5 .6 ปีผลผลิตได้เพิ่มขึ้นก่วานาหว่านครับสิ่งสำคัญช่วยประหยัดพันธ์ข้าว 5 ก กต่อไร่ครับ

  • @Bb-hy3zr
    @Bb-hy3zr Před 8 dny

    สายวนเกษตร สายอินทรีย์เค้าทำมานานละ ทำนาเปียกสลับแห้งกันมานานละ หมักจุลินทรีย์ก็ทำกันมาตลอด ทำนาโดยไม่ไถแต่ดินฟูกว่าไถ...เพิ่งเคยเห็นอ.คนนี้คนแรกที่พูดเรื่องนี้ (ในกลุ่มเค้าก็ให้ระวังนักวิชาการเพราะเรียนมาเป็นได้แค่เซลขายปุ๋ยเคมี)

    • @user-ew1rt3vp6g
      @user-ew1rt3vp6g Před 8 dny

      ระวังนักวิชาการมากไป จนบางทีไม่ได้ความรู้จริง ๆ ได้แต่ความคิดที่ขาดงานวิจัยและข้อเท็จจริงรองรับ ถ้าถึงขนาดคิดวิเคราะห์แยกแยะไม่ได้ ว่านักวิชาการคนไหนพูดสาระดี ข้อเท็จจริงเรื่องธาตุอาหาร หรือ เป็นแค่เซลล์ขายปุ๋ย ก็คงจะแย่นะ

  • @natthapolxable
    @natthapolxable Před 8 dny

    อาจารย์ทำให้เปิดมุมมองใหม่เลยครับ ❤

  • @user-pm4lt4kc1s
    @user-pm4lt4kc1s Před 8 dny

    สุดยอดครับอาจารย์

  • @user-wm5ve7oc6l
    @user-wm5ve7oc6l Před 8 dny

    ต้องฟังสองเที่ยวถึงจะเข้าใจครับ

  • @phoneme3841
    @phoneme3841 Před 8 dny

    ตกลงไม่ต้องใส่โดโลไมท์ใช่ไหมคับ

  • @user-lj5lm7qb9f
    @user-lj5lm7qb9f Před 8 dny

    ขออนุญาตสอบถามค่ะ จากที่ฟัง อ.สุมิตรา ในหลายๆ ช่องทางท่านบอกว่าในกรณีที่ดินเป็นกรด ให้ค่อยๆ ปรับสภาพดินด้วยการใส่โดโลไมท์ หรืออาจจะเป็นปูนขาวแล้วแต่ความเหมาะสม แต่ฟังการบรรยายของ อ.สุนทรี vdo นี้เหมือนอาจารย์ไม่ค่อยอยากให้ปรับ pH ของดิน ก็เลยไม่แน่ใจว่าจะต้องปฏิบัติอย่างไร หรือเข้าใจผิดเอง ขอความกระจ่างด้วยค่ะ ที่ผ่านมาได้ยึดหลักของอาจารย์ทั้ง 2 ท่านมาตลอด ซึ่งได้ผลดี ก็เลยคิดว่าหรือจะเป็นความรู้ใหม่หรือไม่

    • @tomprommas7357
      @tomprommas7357 Před 8 dny

      จากการฟังอาจารย์ทั้งสองท่านได้ความรุ้เยอะมากครับ แต่อาจเห็นต่างกันบ้างในเรื่องใช่ปูน กับค่าวิเคราะห์ดิน จากที่ผมติดตามฟังมา แต่ก้อมีเหตุผลที่ดีทั้งสองท่าน

    • @suntareeyingjajaval6739
      @suntareeyingjajaval6739 Před 8 dny

      เรามองโดโลไมท์/ปูน และธาตุอาหารอื่นเป็นปุ๋ยที่ต้องใส่เหมือนที่ใส่ NPK ให้ใส่ในปริมาณเท่าที่พืชต้องการใช้ เหมือน NPK โดยไม่จำเป็นต้องใส่เพิ่มเติมเพื่อปรับเพิ่ม pH เพราะอย่างที่อธิบายในการพูดครั้งนี้ ที่ว่าการดูดใช้ธาตุอาหารของรากผ่านกระบวนการทางชีวภาพ ไม่ต้องรอให้ธาตุอาหารละลายออกมาในน้ำที่ขึ้นกับค่า pH ของสารละลายดิน หรือเท่ากับกล่าวว่า ถ้าคิดว่ากระบวนการในดินเป็นกระบวนการเชิงเคมีล้วนๆ เราก็ทำตามคำอธิบายเรื่องการจัดการธาตุอาหารในดินแบบที่ทางปฐพียึดถือตลอดมา แต่ถ้าเราปรับความคิดว่า กระบวนการในดินเป็นการที่รากได้ธาตุอาหารผ่านกระบวนการชีวภาพ เราก็ไม่ใช้วิธีทางเคมี คือไม่จำเป็นต้องใส่ปูนเพิ่มเพื่อปรับค่า pH แต่ใส่ปูนในฐานะเป็นปุ๋ยที่ต้องให้ในปริมาณตามความต้องการของพืช

    • @user-lj5lm7qb9f
      @user-lj5lm7qb9f Před 8 dny

      ​@@suntareeyingjajaval6739ขอบพระคุณมากค่ะอาจารย์ เข้าใจแล้วค่ะ

  • @somchay8786
    @somchay8786 Před 9 dny

    ขอให้สุขภาพแข็งแรงทุกคนครับ

  • @jatooronss.3266
    @jatooronss.3266 Před 9 dny

    ดีใจที่เจออาจารย์อีกครั้งครับ❤❤❤❤

  • @user-ew1rt3vp6g
    @user-ew1rt3vp6g Před 9 dny

    เรียนถาม ท่าน อ.สุนทรีครับ ว่าถ้าเราต้องการนำแปลงนาเก่าที่มีความลุ่ม เป็นดินเหนียว จังหวัดสิงห์บุรีมาทำสวนผลไม้ ในขั้นเตรียมการนอกจากการไถระเบิดดาน และ เพิ่มอินทรีย์วัตถุแก่ดินแล้ว มีประเด็นใดต้องเตรียมเพิ่มอีกไหมครับ

    • @suntareeyingjajaval6739
      @suntareeyingjajaval6739 Před 9 dny

      ให้แน่ใจว่าใส่ธาตุอาหารครบ สูตรปุ๋ย NPK โดโลไมท์ จุลธาตุสังกะสี ทองแดง กับโบรอนคะ ถ้าทำได้ขุดเป็นร่องดินขนานกับแนวยาวต้นไม้แทนการระเบิดดาน จะช่วยระบายน้ำจากเขตรากพืช และใช้เป็นที่สะสมเศษพืชที่ตัดจากต้น

    • @user-ew1rt3vp6g
      @user-ew1rt3vp6g Před 9 dny

      ⁠@@suntareeyingjajaval6739ขอบพระคุณครับ เดี๋ยวจะจัดการตามที่อาจารย์แนะนำครับ ตอนแรกจะทำร่องสวน แบบโบราณ แต่ผมจำต้นปาล์มร่องสวนในงานวิจัยของอาจารย์ได้ครับ ว่าดินแฉะตลอด และรากลงลึกไม่ได้ แต่วิธีที่อาจารย์แนะนำให้ทำร่องนี้ความลึกไม่ต้องมากใช่ไหมครับ ในอนาคตได้ผลอย่างไรจะติดต่อเพื่อรายงานครับ

    • @suntareeyingjajaval6739
      @suntareeyingjajaval6739 Před 9 dny

      เป็นการเปิดหน้าตัดดินที่กว้างกว่าการระเบิดดาน การใส่เศษพืชจะช่วยกันไม่ให้ดินกลับมาจับกันเป็นชั้นดานใหม่

    • @user-ew1rt3vp6g
      @user-ew1rt3vp6g Před 9 dny

      @@suntareeyingjajaval6739ขอบพระคุณครับอาจารย์

    • @navaveesripongpan3199
      @navaveesripongpan3199 Před 4 dny

      เริ่มเห็นสัจธรรม

  • @amnajjanthong9743
    @amnajjanthong9743 Před 9 dny

    ได้ความรู้ใหม่ๆ เยอะมากครับ

  • @wutburapha
    @wutburapha Před 9 dny

    ขอขอบคุณอาจารย์มากๆครับที่ช่วยเหลือจุลินทรีย์ในธรรมชาติให้คงอยู่ผมสำนึกตลอดว่าเราไม่เคยเก่งกว่าธรรมชาติแต่เราควรพึ่งพาธรรมชาติและเรียนรู้อยู่กับเขาพึ่งสิ่งที่เรามีให้มากที่สุดส่วนปัจจัยภายนอกเราพยายามที่จะพึ่งให้น้อยที่สุด จุลินทรีย์คือทุกสิ่งบนโลกขอบคุณครับ

  • @yothinpromsena
    @yothinpromsena Před 9 dny

    แหล่งที่มาของงานวิจัยต่างๆที่ อ.นำเสนอ สามารถหาได้จากที่ใด ปล.ในคลิปเหมือนว่า อาจารย์กำลังอบรบนักษาเลย :)

    • @phanaratbromley2792
      @phanaratbromley2792 Před 5 dny

      หากสนใจลองศึกษาเพิ่มเติมทางยูทูปจาก Dr. Elaine Ingham ดูนะคะ

    • @phanaratbromley2792
      @phanaratbromley2792 Před 3 dny

      สวัสดีค่ะ สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมเรื่อง Soil food web ได้จากคำบรรยาย ของดอกเตอร์ อีเลน อิงแฮมและอีกหลายๆท่านตามยูทูปก็มีทั้งแบบฟรีและเสียเงิน ลองพิมพ์ Dr. Elaine Ingham หรือ Soil Food Web หรือ Soil Biology หรือ cultivating living soil ดูนะคะ หากสนุกอาจต่อไปถึงการทำเกษตรแบบ Regenerative Agriculture และ Syntropic farming เอ็นจอยค่ะ

  • @WichainPhongphab-n7t

    เป็นความรู้ที่มีคุณค่าที่สุดครับ

  • @theeyeofsilence4928

    ขอบพระคุณครับอาจารย์สุนทรีย์ ผมมาถูกทางแล้วครับ สรุป ~ ทำดินให้มีชีวิต ~ ให้ความสำคัญกับการปรับปรุงดินเพื่อเพิ่มอากาศช่องว่างอากาศในดิน ~ ใส่ปุ๋ยให้เพียงพอต่อความต้องการของพืช ~ รักษาสมดุลของปุ๋ย ให้ปุ๋ยแต่ละตัว มีสัดส่วนที่เหมาะสม ( ขึ้นอยู่กับพืชแต่ละชนิด )​ ~ สร้างปัจจัยที่เอื้อให้พืชมีการสังเคราะห์แสงให้ได้มากที่สุด ~ เพื่อให้รากพืชนำแร่ธาตุไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างสูงสุด ~ นั่นคือเป้าหมาย ในการเพิ่มผลผลิต

  • @rabblemanable
    @rabblemanable Před 9 dny

    ขอบคุณท่านอาจารย์มาก ๆ เลยครับ

  • @user-xv2jx5ee7h
    @user-xv2jx5ee7h Před 9 dny

    ผมยึดแนวทางอาจารมา3ปี สวนทุเรียนผม ปลอดเชื่อโรคไฟทอป..ทุเรียนก็สวยอย่างไม่เคยดป็นมาก่อน..ดร.สุมิตรา ด้วย

  • @user-ew1rt3vp6g
    @user-ew1rt3vp6g Před 9 dny

    กราบขอบพระคุณ อ.สุนทรี และ cab ku ครับ

  • @kasetthamdee
    @kasetthamdee Před 9 dny

    ความชัดเจนและรายละเอียด เห็นด้วยกับอาจารย์อย่างยิ่งครับ

  • @apiwatpolsun2422
    @apiwatpolsun2422 Před 9 dny

    ขอบคุณอาจารย์และทีมงานกับความรู้และข้อมูลที่เป็นประโยชน์มาก และอธิบายให้เห็นภาพเข้าใจง่าย 🙏😊

  • @user-oj1vn8zc6t
    @user-oj1vn8zc6t Před 9 dny

    เราสามารถใส่ยิปซั่มทีเดียว500กกฺต่อไร่ได้ไหมคะ เพื่อปรับปรุงสภาพดินเพราะที่เป็นดินลูกรังค่ะ หนูปลูกอ้อยตามแนวทางของ อ. pH 6.2-6.5 เลยใส่ Ca ในรูปของยิปซั่มแทนค่ะ

    • @suntareeyingjajaval6739
      @suntareeyingjajaval6739 Před 9 dny

      ดินที่มีค่า pH สูงขนาดนี้ ไม่พบบ่อย เป็นพื้นที่แถวไหนคะ ถ้าค่า pH สูงเพราะใส่ปูนมาก่อน ก็ไม่ต้องใส่ยิปซัมมากขนาดนั้นแล้วคะ คำแนะนำของเราให้ใส่ปูนโดโลไมท์ เพื่อให้ได้แมกนีเซียมด้วย

    • @user-oj1vn8zc6t
      @user-oj1vn8zc6t Před 9 dny

      ⁠@@suntareeyingjajaval6739ดิน จ.สระแก้ว ไม่เคยใส่ปูนมาก่อนเลยค่ะไม่เคยบำรุงดินอะไรเลยมาตั้งแต่รุ่นตายาย หนูเคยเห็นแผนภาพpHของแต่ละจังหวัดในไทยของกรมพัฒนาที่ดิน ดินของสระแก้วไม่เป็นกรดค่ะ (น่าจะจังหวัดเดียวเลยค่ะ)

    • @user-oj1vn8zc6t
      @user-oj1vn8zc6t Před 9 dny

      ยิปซั่ม ไม่ได้เพิ่มpH ก็เลยสงสัยว่าเราใส่เยอะๆ (500กกฺ) ปีแรกครั้งเดียว เพื่อให้ดินมันนิ่มและอุ้มน้ำดีขึ้นได้ไหมคะ ปีต่อไปเราก็ใส่ 50กก.พอค่ะ หนูตั้งใจว่าจะไม่ไถพรวนดินกำจัดหญ้าเพื่อรักษาจุลินทรีย์ แต่ปีนี้อุปกรณ์ไม่พร้อม เลยฉีดยาฆ่าหญ้า จุลินทรีย์มันตายไหมคะ ปีต่อไปจะตัดหญ้าเอาค่ะ และโรยปุ๋ยในกองหญ้าเลยค่ะ แต่สงสัยว่าในไร่อ้อยมันร้อนกลางแดด ไนโตรเจนมันจะระเหิดไปหมดหรือปล่าวคะ

    • @suntareeyingjajaval6739
      @suntareeyingjajaval6739 Před 9 dny

      เป็นเรา เราจะใส่โดโลไมท์ 50 กก/ไร่ ถ้าจะบำรุงดิน ใช้วิธีเพิ่มอินทรียวัตถุดีกว่าคะ เมื่อเป็นกิจกรรมทางชีวภาพแล้ว ไม่ต้องกังวลเรื่องปุ๋ยหาย/ระเหิดอีกต่อไป ทำต่อเนื่องไปเรื่อยๆ ดินจะฟื้นชีวิตเพิ่มขึ้น พื้นที่สระแก้วที่ไกลทะเล ควรมีการใส่กำมะถัน เช่นสาด 21-0-0 ช่วงปลูกสักครึ่งกระสอบต่อไร่ เศษพืชย่อยสลายเร็วขึ้นด้วย

    • @samtt369
      @samtt369 Před 9 dny

      ดินที่มีชีวิต ต้องมีอินทรียวัตถุ

  • @petchpaitoon
    @petchpaitoon Před 9 dny

    เปลี่ยนหลักการเรื่อง PH ของดินเลย ไม่ต้องเน้นใส่ปูนจำนวนมาก

  • @user-qg2bs5lb9j
    @user-qg2bs5lb9j Před 9 dny

    อาจารย์ จะทำให้เกษตรกร เดินทางที่ถูกต้องครับ

  • @Blackbuffalo2016
    @Blackbuffalo2016 Před 9 dny

    กราบอาจารย์ ผมเห็นด้วยกับอาจารย์มากๆครับ 🙏🏻🙏🏻🙏🏻

    • @atipklangwichien5960
      @atipklangwichien5960 Před 9 dny

      ไม่จบอ่ะพี่ควาย เพจพี่มีไลฟ์เรื่องนี้มั้ยครับ อยากฟังต่อ

  • @thuksintophandung825

    ติดตามอาจารย์ตลอดครับ ขอให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงครับ

  • @burinruantip145
    @burinruantip145 Před 9 dny

    ขอบคุณครับ

  • @naturalsustainable6116

    ควรเพิ่มเวลาแสดงสไลด์ให้นานขึ้น เวลาอ.บรรยาย จะได้ดูรายละเอียดบนสไลด์ควบคู่กันไป